Saturday, September 13, 2014

(EVA 11) Experimental Video Art Exhibition, Thai-European Friendship 2004-2014



Artists:

1. Giuliano Vece (Swiss) “Aggigma” Pal, Color, Sound, 15 min, 2002 (2004)

2. Karl Inger Roys (Norwegian-English) "To whom it may concern" Pal, Color, Sound, 3.02 min, 2003.


3. Pascal Fendrich (German) "Speed Crystal" Pal, Color, Sound, 6.36 min, 2002.


4. Kitti Sornmanee (Thai) "Paper bird" Pal, Color, Sound, 9 min, 2005.


5. Khae Mongkornwong (Thai) "Bangkok" Pal, Color, Sound, 4 min, 2005.


6. Doris Schmid (Austrian) "Schauer" Pal, Color, Sound, 5 min, 2004.


7. Billy Rois (Austrian) “Close Your Eyes” Pal, Color, Sound (dieb13), 13 min, 2009.


8. Tessa Knapp (German) "Flure (No.2)" Pal, Color, Sound, 4 min, 2005.


9. Daniel Burkhardt (German) "Group of birches & Zwirn" Pal, Color, Sound, 3 min, 2004-2005.


10. Heidrun Holzfeind (Austrian) "Subway talk" Pal, Color, Sound, 8 min, 2005.


11. Matej Modrinjak (Slovenian) "Upwards” Pal, Color, Sound, 9 min, 2005.


12. Kosit Juntratip (Thai) "Kiss" Pal, Color, Sound, 9 min, 2005.


13. Arnont Nongyaow (Thai) "Drink Sky On Rabbit's Field" Pal, Color, Sound, 6.55 min, 2014.


14. Dieter Kovacic (Austrian) "Sobaschitzel" Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2006.


15. Heidrun Holzfeind (Austrian) “Bitches (2007 reel)” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2006.


16. Ittiphon Chuntong (Thai) "Family" Pal, Color, Sound, 5 min, 2007.


17. Nicole Schatt (Swiss) "Clinch" Pal, Color, Sound, 8.45 min, 2006.


18. Theerawat Maysasitthivit (Thai) "Monster" Pal, Color, Sound, 2.33 min, 2007.


19. Thorsten Schneider (German) "Auftritt" Pal, Color, Sound, 5 min, 2005.


20. Matthias Neuenhofer (German) "Tor Baum" Pal, Color, Sound, 2 min, 2003. 


21. Hee-Seon Kim (Korean) "Going 99-01" Pal, Color, Sound, 4.49 min, 1999.


22. Alex Heim (German) “Heimorgeln” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2006.


23. Urs Domingo Gnad (German) "Egotrip" Pal, Color, Sound, 6 min, 2004.


24. Johann Lurf (Austrian) "Vertigo Rush" Pal, Color, Sound, 19 min, 2008.


25. Pascal Fendrich/Bernd Härpfer (Germans) “Crude Carrier” Pal, Color, Sound, 5 min, 2008.


26. Susi Jirkuff (Austrian) "Friday I am in love" Pal, Color, Sound, 3 min, 2008.


27. Jan Machacek (Austrian) "In the mix" Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


28. Menno Aden (German) "My Space" Pal, Color, Sound, 1.30 min, 2008.


29. Anja Krautgassner (Austrian) “Beyond” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2008.


30. Manuel Knapp (Austrian) "Distorted Areas" Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.

31. Namfon Udomlertlak (Thai) "Oh my god" Pal, Color, Sound, 4.45 min, 2009.


32. Jan Arlt (Austrian) “untitled 1” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2009.


33.Egbert Mittelstädt (German) "Elsewhere" Pal, Color, Sound, 5.52 min, 2009.


34. Robert Vater (German) “TNT” Pal, Color, Sound, 14 min, 2009.


35. Miriam Bajtala (Austrian) "Satellite me" Pal, Color, Sound, 9 min, 2009.


36. Barbara Sturm (Austrian) "Destruction/Gallery 1:10" Pal, Color, Sound, 5 min, 2002-2006.


37. Matthias Neuenhofer (German) “Qat Souk” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2008.


38. Rimas Sakalauskas (lithuanian) "Synchronization" Experimental Animation, DVD Pal, 4:3, Color, Sound, 8 min, 2009.


39. Harald Hund & Paul Horn (Austrian) "Dropping Furniture" Pal, Color, Sound, 9 min, 2008.


40. Nanthanach Ithisampand (Thai) "My mind, imagination from traveling" Pal, Color, Sound, 2 min, 2010.


41. Susanne Schuda (Austrian) "Spoken under the skin" Pal, Color, Sound, 5 min, 2008. 


42. Johan Lurf (Austrian) "The quick brown fox jumps over the lazy dog" Pal, Color, Sound, 3 min, 2009.


43. Nawarat Kanchaninthu (Thai) "Room" Pal, Color, Sound, 3 min, 2010.


44. Puttipong Pisikullapark (Thai) "Quartz" Pal, Color, Sound, 2 min, 2010.

45. Maki Satake (Japanese) "Vestige of life" Pal, Color, Sound, 12 min, 2009.

46. Kate Pickering (English) "Untitled" Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2009.


47. Pasut Kranrattanasuit (Thai) "Sensation" Pal, Color, Sound, 40 Sec, 2008.


48. Jihye Park (English) "The Chopped Arm" Super 8 film, transfer with soundtrack on DVD, color, Sound, 8.33 min, 2008.


49. Panu Saeng-Xuto (Thai) “Cycle of Life 1-3” Pal, Color, Sound, 5 min, 2010.


50. Matthias Neuenhofer (German) "Para/Noise" Pal, Color, Sound, 19.23 min, 2010.


51. Pascal Fendrich / Bernd Härpfer (German) “Stargate” Pal, Color, Sound, 5 min, 2010.


52. Tintin Cooper (English-Thai) "After life" Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


53. Gerald Zahn (Austrian) "Hairy Monsters" Pal, Color, Sound, 5 min, 2007.


54. Komson Nookiew (Thai) "Lives but speed" Pal, Color, Sound, 3 min, 2011.

55. Karin Fissthaler (Austrian) "tesafilm” Pal, Color, Sound, 4.25 min, 2010.

56. Yuthachai Tangwongcharoen (Thai) "Silent, Along, Life" Pal, Color, Sound, 2.5 min, 2011.

57. Norbert Pfaffenbichler (Austrian) "Conference" Pal, Color, Sound, 8 min, 2011.


58. Chayanis Wongthongde (Thai) "Mystery" Pal, Color, Sound, 3 min, 2011.


59. Jun Yang (Austrian) “Revolutions” Pal, Color, Sound, 10 min, 2012.


60. Gertrude Moser-Wagner (Austrian) "Bird reply" Pal, Color, Sound, 3 min, 2012.


61. Dariusz Kowalski (Finnish) "Luukkaankangas-updated, revisited" Pal, Color, Sound, 8 min, 2005.


62. Tina Frank (Austrian) "Vergence" Pal, Color, Sound, 7 min, 2010.


63. Kanakorn Kachacheeva (Thai) “Bangkok Vomit" Pal, Color, Sound, 3 min, 2012.


64. Nonglak Trithanachot (Thai) “The Switch” Pal, Color, Sound, 1.37 min, 2013.


65. Peter Beyer (German) “Atropa” Pal, B&W, Sound,
29 min.


66. Evamaria Schaller (Austrian) "Die Wilderin vom Montafon" Pal, Color, Sound, 21.24 min, 2011.


67. Lena Ditte Nissen (German/Danish) "Korona" Pal, Color, Sound, 10.20 min, 2011.


68. Geraid Zahn (Austrian) "Just 5 more minutes" Pal, Color, Sound, 5.23 min,  2010.


69. Boris Imscher (German) “Play Ground (Hurt)” Pal, Color, Sound, 4.30 min, 2005.

70. LIA (Austrian) “Transition 89” Pal, Color, Sound,  5 min, 2011.


71. Maria Petschig (Austrian) “PAREIDOLIA” Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


72. Oliver Stotz (Austrian) “You come” Pal, Color, Sound, 4 min, 2007.


73. Julia Weidner (German) “keep on” Pal, Color, Sound, 9.15 min, 2004.


74. Sabine Marte (Austrian) "B-Star-unkillable" DVD Pal, Color, Sound, 7 min, 2009


75. Leopord Kessler (Austrian) “Perforation cal .10 mm.” Pal, Color, Sound, 2.22 min, 2007.


76. Yoshihisa Nakanishi (Japanese) "Loopic Cube" Pal, Color, Sound, 5 min, 2010.


77. Natnaran Bualoy & party (Thai) “Love mean nothing” Pal, Color, Sound, 5 min, 2014.


78. Nithiphat Hoisangthong (Thai) "How to disappear completely" Pal, Color, Sound, 3.33 min, 2013.


79. Wuntigorn Kongka (Thai) “Cris” Pal, Color, Sound, 14 min, 2014.


80. Piriya Ouypaibulswat (Thai) "Freeze" Pal, Color, Sound, 3 min, 2011.


81. Tuksina Pipitkul (Thai) "Air, Light and Water"  DVD Pal, Color, Sound, 3 min, 2009.


82. Eva Weingärtner (German) “the only thing that’s real” Pal, Color, Sound, 5.44 min,  2010.


83. Jate Yooyim (Thai) "Ta-Tum-Mong" Pal, Color, Sound, 3.32 min, 2011.


84. Phillipp Messer (Italian) "Flagflash” Pal, Color, Sound, 2009.


85. Katharina Huber (German) "TANGRAM" Pal, Color, Sound, 10.26 min, 2012.

86. Derek Robert (American) "Corners" Pal, Sound, Color, 5.35 min, 2008.


87. David Larcher (English) "Ich Tank” Pal, Color, Sound, 62 min, 2003.


88. Heidrun Holzfeind and Christoph Draeger (Austrian&Swiss) "Tsunami Architecture / The Maldives Chapter Redux" Pal, Color, Sound, 26 min, 2013.


89. Orawan Arunrak (Thai) “Mom and TV shows”  Pal, Colour, Sound, 20 min, 2014.


90. Graw Boeckler (German) "Bacause" Pal, Color, Sound, 4.03 min, 2005.


91. Anon Chaisansook, Rach Chulajata, Nattapat Thamasal, Napat Vattanakuljalas, Bavorn Kajonpanpong (Thais)  “Colour Translation Project” Pal, Colour, Sound, Video Performance, 4.30 min, 2014.


Artist's biography and art concepts:

1. Giuliano Vece (Swiss) “Aggigma” Pal, Color, Sound, 15 min, 2002 (2004).

    จูริอาร์โน่ เวซ: ชาวสวิส-อิตาเลี่ยน

    Geboren 1968 in Appenzell in der Schweiz. 1992-95 Studium an der F+F Schule für Kunst und Mediendesign Zürich, 1996-2002 Studium an der Kunsthochschule für Medien Köln, Studienrichtung Audiovisuelle Medien. Seit 1993 Videodesktoper, seit 1995 Tutor für Postproduktion. "Aggigma" ist sein Abschlussfilm an der KHM.

        จูริอาโน่ เวซ เป็นชาวสวิส-อีตาเลี่ยน เกิดในปี 1968 หลังจากนั้นในปี 1992-95 ศึกษาศิลปะ และมีเดีย ในมหาวิทยาลัยในซูริค ต่อมาในปี 1996-2002 ศึกษาต่อ ณ. มหาวิทยาลัยมีเดีย เมืองโคโลนด์ และยังศึกษาเกี่ยวกับมีเดียภาพและเสียงเป็นพิเศษอีกด้วย ตั้งแต่ปี 1995 เป็นครูสอนตามสถาบันต่างๆ ส่วนงานชื่อว่า Aggigma เป็นงานที่จบการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยมีเดีย โคโลนด์ (KHM)

 


2. Karl Inger Roys (Norwegian-English) "To whom it may concern" Pal, Color, Sound, 3.02 min, 2003.



    website: http://karlingarroys.blogspot.com/ 

    คาร์ อินเกอร์ ลอยซ์: ชาวเนอร์เวย์-อังกฤษ

    Concept: แนวคิด:
           In his video Karl Ingar Røys mixes together many different commercials to give the work a completely new meaning. The message is presented just as fast as advertisings’ aesthetics, allowing the viewer to be tempted to interpret the work within an advertising critical context. One becomes seduced by the editing. Sentences such as ‘Apparently you never had it so good’ and especially ‘How clear do you want it to be?’ fall right into the politically correct interpretations of the commercial; that the commercial seduces us with simple solutions of eternal beauty, youth and success.

     But no; if you look closer at the video work, the video becomes something completely different. It is simply a video-letter where one person ends a relationship with another person. The couple, though seen only from one perspective has a confrontation with their wishes, their dreams and the life that this person has lived in the relationship.

    ‘To whom it May Concern’ suddenly becomes something very personal. Since the idea suggests that it could be two separate interpretations of the work, the commercial and its language is stripped and revealed. - Text by Anne-Britt Rage

     His artistic strategies are based in project-related experiments on the signifier’s role as a subjective, controlled and conveyable instrument, where contextual and narrative structures are reorganized in order to investigate potential means of interest. The emphasis is put on deconstruction and reconstruction of meaning in a predetermined or institutionalized context where he explore and exploit the relationship between politics, culture, economy and art. His educational background is in Comparative Politics, University of Bergen, Law studies at the University of Tromsø and Critical Fine Art Practice from Central Saint Martins College of Art in London, UK

       Karl Ingar Røys เกิดใน Volda และทำงานในเมืองเบอร์ลิน ลอนดอนและออสโล กลวิธีทางศิลปะของเขามีพื้นฐานจากโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการทดลองบทบาท ของรูปสัญญะในเชิงอัตวิสัย เครื่องดนตรีที่สามารถนำพาและควบคุมได้ ซึ่งโครงสร้างการเล่าเรื่องและบริบทถูกปรับเปลี่ยนใหม่เพื่อเสาะหาช่องทาง ความเป็นไปได้ของความสนใจ การเน้นย้ำวางอยู่บนการรื้อโครงสร้างและการปรับโครงสร้างของความหมายในการ กำหนดหรือเนื้อหาที่เป็นระบบที่ซึ่งเขาสำรวจและหาประโยชน์จากความสัมพันธ์ ระหว่างการเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจและศิลปะ ภูมิหลังทางการศึกษาของเขาคือ การเมืองเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยเบอร์เกน เรียนกฎหมายที่มหาวิทยาลัย Tromsø และ Critical Fine Art Practice จากวิทยาลัยศิลปะเซ็นทรัลเซ็นต์มาร์ตินส์ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ 


3. Pascal Fendrich (German) "Speed Crystal" Pal, Color, Sound, 6.36 min, 2002.


   พาสเคาร์ เฟนเดอร์ริค ชาวเยอรมัน-ฝรั่งเศส

   website: mail@pascalfendrich.net 


   Concept: แนวคิด:
            The basic concept of speed crystal is the integration of image and sound in an abstract dramaturgy that rests on the principle of constant acceleration.
              The process is base on a looped video sequence that has been filmed from the gondola of a ferris wheel. Because the gondolas turn several times in a horizontal direction in their cradles during the wheel's revolution, it gives rise to a complex interwoven, multilayered and continually reoccurring movement.
                The starting point of the music is the soundtrack of the vido sequence that, as the video plays, is subjected to different degrees of rhythmic, tonal and spectral distortion. Analogue to what happens on the pictorial level, the musical process develops from an increasing compartmentalization of temporal levels that are characterized by the varying accelerative process.
               The integration of picture and sound is the result of a process that incorporates the close-knit interplay. The software based conveyance of events on the one hand and the human spatial dimension on the other hand lead to a form of abstract dramaturgy that is in no way narrative but, rather, reset solely on the pictorial and compositional means of the video and the music.
                 The video has been nominated for the "Bild-Kunst" award for experimental Film at Kunstfilm Biennale 2004 in Cologne.

          แนว ความคิดพื้นฐานของคริสตัลความเร็ว (speed crystal) คือการรวมกันของภาพและเสียงในศิลปะการละครเชิงนามธรรมที่อยู่บนฐานของหลัก แห่งความเร่งคงที่ กระบวนการตั้งอยู่บนฉากของวีดีโอที่ฉายหมุนวน (ฉายซ้ำ) ซึ่งถูกถ่ายทำจากเรือกอนโดลาของชิงช้าสวรรค์ เพราะเรือกอนโดลาหมุนหลายครั้งในทิศทางแนวนอนบนจุดกำเนิดระหว่างการโคจรของ วงล้อซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นของการถักทออันซับซ้อน มีหลายชั้นและเกิดการเคลื่อนไหวขึ้นซ้ำอีกอย่างต่อเนื่อง จุดเริ่มต้นของดนตรีคือเสียงในฟิล์มของฉากวีดีโอ ขณะกำลังดำเนินเรื่อง ซึ่งขึ้นกับองศาที่แตกต่างของการบิดเบือนของจังหวะ ระดับเสียงและแถบสีหลากหลายสี การแปลงสัญญาณอะนาล็อกที่เกิดขึ้นในระดับของภาพ ขั้นตอนทางดนตรีพัฒนาจากการจัดแบ่งที่เพิ่มขึ้นของระดับเวลาที่แสดงลักษณะ ด้วยขั้นตอนการเร่งที่ไม่เปลี่ยนแปลง การผสมผสานของภาพและเสียงเป็นผลจากกระบวนการที่รวมการปฏิสัมพันธ์อย่าง ประสานกัน นัยยะหนึ่งคือชุดคำสั่งการนำส่งเหตุการณ์ต่าง ๆ และ มิติทางที่ว่าง/อากาศของมนุษย์ในอีกนัยยะ นำไปสู่รูปทรงของศิลปะการละครเชิงนามธรรมที่ไม่มีการเล่าเรื่อง แต่เริ่มใหม่โดยลำพังบนความหมายของภาพและองค์ประกอบในวีดีโอและดนตรี วีดีโอได้รับการนำเสนอชื่อเข้ารับรางวัล "bild-Kunst" สำหรับภาพยนตร์ทดลอง ณ Kunstfilm Biennale ปีค.ศ. 2004 ในเมืองโคโลญจน์


4. Kitti Sornmanee (Thai) "Paper bird" Pal, Color, Sound, 9 min, 2005.


    กิตติ ศรมณี : ชาวไทย

           Concept: แนวคิด:

           Paper bird is the symbol of peace, but they have been frozen. That change meaning of symbol.
Fade peace, mean nothing is meaning of frozen paper bird. Everything is assumed by man.


            นกกระดาษ
            กระดาษพับเป็นนก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สันติภาพ แต่ถูกแช่แข็ง กลายเป็นสันติภาพจอมปลอมที่ไม่มีความหมาย ทุกอย่างล้วนถูกอุปโลกน์ขึ้น


5. Khae Mongkornwong (Thai) "Bangkok" Pal, Color, Sound, 4 min, 2005.


     แข มังกรวงษ์: ชาวไทย

     Concept: แนวคิด:
              Bangkok civilized city. Capital as "Bangkok" to view this civilized. Behind the Sweat Workers of different Together to create this beautiful city.

               กรุงเทพ ฯ เมืองศิวิไลซ์
               เมืองหลวงนาม “กรุงเทพฯ” ที่ดูศิวิไลซ์นี้ เบื้องหลังคือหยาดเหงื่อ แรงงานของคนต่างจังหวัด ที่ร่วมกันสร้างเมืองนี้ให้สวยงาม 


6. Doris Schmid (Austrian) "Schauer" Pal, Color, Sound, 5 min, 2004.


    โดริส ชามิสน์: ชาวออสเตรีย

     Visual artist. Works mainly with time-based media like film, video, animation and installation.
    2002-12 based in Vienna A / currently based in Berlin D
    1974
    1989-92 Schule für Gestaltung Basel CH,
    1993-97 FF Schule für Kunst und neue Medien Zürich CH

     โดริส ชามิสน์ เป็นศิลปินด้านวิจิตรศิลป และทำงานในแนวศิลปะที่ใช่เรื่องของเวลาเป็นแนวทางหลัก เช่น งานด้านภาพยนต์ วีดีโอ งานอนิเมชั่น และงานแนงศิลปจัดวาง 


7. Billy Rois (Austrian) “Close Your Eyes” Pal, Color, Sound (dieb13), 13 min, 2009.


    บิลลี่ โรอส: ชาวออสเตรีย

    Concept: แนวคิด:
 

    One doesn´t see. One Guesses' (Henri Michaux)

      In Billy Roisz´s Close Your Eyes knocking and rhythmically vibrating sounds take us from a black picture into a darkened room, its shades pulled down. At the film´s beginning a positive and negative image of a window that references this space reveals its function as a projection screen in hypnotic, almost psychedelic audiovisual compositions. Roisz skillfully takes us further, from this real space in the beginning sequence to abstract black-and-white images composed of fine lines that move in time with the fragile soundtrack, turn into dotted lines, then immediately puncture this linearity. High-frequency sounds and scratching noises by the musician dieb13 and arrangements of images that dazzlingly flare up cover these vertical lines to an ever greater extent. At first, a shadowy detail of the window leads back, again and again, from the fast pace of abstract images to that of the private space for brief moments. Accompanied by shrill high-pitched sounds, distorted brass instruments and gentle psychedelic noises, the viewer is lead into hypnotically colorful graphic compositions. Occasionally recognizable in a trance-like flurry of images, at second glance an image of a herd of hippopotamuses or grazing giraffes, tinted pink, reveals itself for a few seconds at a time. Vibrating yellowish-gray stripes flow into a black-and-white striped pattern, calling a herd of zebras to mind. Black frames punctuated in staccato fashion then show the window, heralding the end of the delirious dance: the return to the "real space." Billy Roisz, inspired by the hallucinogenic experiences of painter, writer and poet Henri Michaux, has undertaken a fascinating trip into the abstract and absurd and to the limits of our perceptive ability.
                    (Christa Auderlitzky)
                     Translation: Steve Wilder

        บิลลี่ โรอส ชาวออสเตรีย  ผลงานชื่อ “Close Your Eyes” sound: dieb13 ได้รับแรงบันดาลใจจาก Henri Michaux' 'Miserable Miracle. La Mescaline'(1956) [2009, BETA SP, DVD, stereo, 13min.] ('ผู้ซึ่งไม่เห็น ผู้ซึ่งคาดเดา') 'One doesn´t see. One Guesses' (Henri Michaux) จากเสียงของการเคาะและจังหวะที่สั่นไหวในผลงาน Close Your Eyes ของ Billy Roisz นำพาเราจากภาพมืดดำไปสู่ห้องปราศจากแสงที่ม่านถูกปิดลง ในตอนต้นของภาพยนตร์ ภาพโพสิตีฟและเนกาตีฟของหน้าต่างที่ใช้อ้างอิงถึงหน้าที่ของการเป็นฉากที่ ใช้ในการสะกดจิต เกือบจะเป็นองค์ประกอบของภาพและเสียงที่หลอนประสาท ความชำนาญของ Roisz skillfully พาเราไปไกลยิ่งกว่า จากพื้นที่จริงในลำดับเหตุการณ์ช่วงต้นสู่ภาพขาวดำแบบนามธรรมที่ประกอบด้วย เส้นที่เคลื่อนที่ในช่วงเวลาบนเพลงประกอบอันเปราะบาง กลายเป็นเส้นจุดมากมาย และในทันทีเจาะแนวยาวนี้ (งงค่ะ ตรงนี้) ความถี่สูงและเสียงรบกวนจากการเกาโดยนักดนตรี dieb13 และการจัดการภาพที่จ้าพร่านัยน์ตาสว่างขึ้นปกคลุมเส้นแนวตั้งเหล่านี้และ ขยายกว้างออก ในเบื้องต้นเงาสลัวของหน้าต่างนำพากลับไป ครั้งแล้วครั้งเล่า จากจังหวะอันรวดเร็วของภาพนามธรรมของพื้นที่ส่วนตัวชั่วขณะหนึ่ง พร้อมด้วยเสียงแหลมสูง เครื่องดนตรี brass (อันนี้ไม่รู้สะกดหรือแปลยังไงค่ะ) ที่บิดเบือนและเสียงหลอนนุ่มนวล ผู้ฟังถูกนำเข้าสู่องค์ประกอบกราฟฟิคหลากสีอย่างมีมนต์สะกด ซึ่งบางครั้งให้ความรู้สึกถึงสภาวะของจิตในภวังค์ที่ไม่รู้สึกตัวเหมือนภาพ แห่งความโกลาหลวุ่นวาย ในการชำเลืองมองครั้งที่สอง ภาพฝูงฮิปโปโปเตมัสหรือทุ่งเลี้ยงยีราฟ สีชมพูอ่อนโยน เผยตัวตนให้ชมเพียงชั่วพริบตาต่อครั้ง แถบสีเทาออกเหลืองสั่นไหวไหลสู่แถบลวดลายทางสีขาวและดำหรือจะเรียกว่าฝูง ม้าลายในใจ กรอบสีดำขั้นจังหวะในห้วงสั้นอย่างที่นิยมกันและแสดงภาพหน้าต่าง เสมือนการประกาศในตอนท้ายถึงการเต้นรำอันตื่นเต้นเร้าใจ: การกลับมาของ “พื้นที่จริง” Billy Roisz ได้รับแรงบันดาลใจจากประสบการณ์หลอนประสาทของจิตรกร นักประพันธ์และกวีชื่อ Henri Michaux ผู้รับหน้าที่ดูแลการเดินทางอันน่าหลงใหลไปสู่ข้อสรุปและความไม่เป็นเหตุ เป็นผล และการจำกัดของความสามารถในการรับรู้ 


8. Tessa Knapp (German) "Flure (No.2)" Pal, Color, Sound, 4 min, 2005.


    เทสซ่า คเนพ: ชาวเยอรมัน

    website: http://v13.videonale.org/en/artist/461-knapp-tessa

     Tessa Knapp wurde 1981 in Stuttgart geboren und studierte ab 2001 an der Kunsthochschule für Medien Köln (KHM). 2007 diplomierte sie mit Auszeichnung bei Matthias Müller, Marcel Odenbach und Siegfried Zielinski.
       Sie arbeitet in den Medien Videokunst, Experimentalfilm und Installation.


       เกิดในปี 1981 ที่เมืองสตุทกาดท์ และในปี 2001 ศึกษาศิลปะที่ มหาวิทยาลัยมีเดีย เมืองโคโลนด์ (KHM) จบการศึกษาในปี 2007 โดยโบรเฟสเซอร์ มาทีอัส มูเลอร์, โบรเฟสเซอร์ มาแชล์ โอเดนบาค์ และโบรเฟสเซอร์ ซีฟรีด์ 
      ปัจจุบันทำงานด้านมีเดีย วีดีโอ ภาพยนต์ทดลอง และศิลปะจัดวาง

       Tessa Knapp is a German artist working in the field of experimental film, video and installation.
       Interested in the poetic elements of time she explores shadow, light and space. Working with the media of film she captures the hidden in the visible, the in-between a frozen motion.
       Leading away from the representative image she structures movements by editing and arranging footage in fixed video-tableaux. Within this year Tessa Knapp will matriculate with a master degree at the Academy of Media Arts Cologne, supervised by the experimental film-maker Matthias Müller, video artist Marcel Odenbach and media archaeologist Sigfried Zielinski.
            Her works have been screened and nominated at numerous festivals, amongst others at European Media Art Festival Osnabrück, Kunstfilmbiennale Köln, Videoformes Clermont-Ferrand and at the German Filmfestival Max-Ophüls-Preis. She received the first award for experimental film at Showcase International Film Forum in Germany and a Special Mention at Cordoba animation festival in Argentina. Her video works have been exhibited in Europe, Thailand and the USA


           เทสซ่า คเนพ เป็นศิลปินเยอรมันทำงานในข่ายภาพยนตร์ทดลอง วีดีโอและศิลปะจัดวาง มีความสนใจองค์ประกอบต่าง ๆ ในบทกวีเกี่ยวกับเวลา เธอเสาะหาเรื่องของแสง เงาและที่ว่าง ทำงานด้านสื่อภาพยนตร์ เธอเก็บภาพจากสิ่งที่ซ่อนที่อยู่ในที่ที่สามารถมองเห็นได้ซึ่งอยู่ระหว่าง การเคลื่อนไหวที่ไร้ความรู้สึก (หรือหนาวเหน็บดีคะ) นำพาออกจากภาพที่แทนความหมาย เธอสร้างการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ด้วยการตัดต่อและจัดการฟิล์มภาพยนตร์ในฉากวีดีโอที่กำหนดไว้ ภายในปีนี้ Tessa Knapp จะสมัครเข้าเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโทที่ Academy of Media Arts Cologne ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ Matthias Müller และศิลปินวีดีโออาร์ต Marcel Odenbach และโบราณคดีด้านสื่อ Sigfried Zielinski ผลงานของเธอได้รับการคัดเลือกและเสนอชื่อในเทศกาลมากมาย และจาก European Media Art Festival Osnabrück, Kunstfilmbiennale Köln, Videoformes Clermont-Ferrand and at the German Filmfestival Max-Ophüls-Preis เธอได้รับรางวัลที่ 1 ในภาพยนตร์ทดลองที่ Showcase International Film Forum in Germany และ a Special Mention at Cordoba animation festival in Argentina. ผลงานวีดีโอของเธอจัดแสดงในยุโรป ประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา
 


9. Daniel Burkhardt (German) "Group of birches & Zwirn" Pal, Color, Sound, 3 min, 2004-2005.


     เดเนียร์ เบอร์ฮาดท์: ชาวเยอรมัน

     website: http://www.danielburkhardt.de

     Daniel Burkhardt was born in 1977 in Bochum, Germany. He studied Media Art at the Academy of Media Arts (KHM) in Cologne where he now lives and works.
     His video and audio visual installations playful and ingeniously expose human perception as the driving motor behind the construction of meaning.
      Since 2004, his work has regularly been included in a wide range of exhibitions and screenings at museums, art spaces and video and short film festivals including the Centre Pompidou Paris, the Museum Reina Sofia Madrid, the Künstlerhaus Mousonturm Frankfurt, the New York Video Festival, the International Film Festival Rotterdam and the International Short Film Festival Oberhausen. In 2009 he presented his first major solo exhibition at the Glaskasten Marl Sculpture Museum. This was followed by further solo exhibitions at the Zendai Contemporary Art Exhibition Hall in Shanghai and the Bochumer Kunstverein. Daniel Burkhardt has received numerous awards including the GWK Sponsorship Award and the Marl Video Art Award. In 2012 he was awarded a scholarship by the Stiftung Kunstfonds.
        เดเนียร์ เบอร์ฮาดท์ เกิดในปีค.ศ. 1977 in Bochum ประเทศเยอรมัน เขาได้รับการศึกษาด้านสื่อศิลปะ (Media Art) ที่ Academy of Media Arts (KHM) เมืองโคโลญจน์ที่ซึ่งเขาทำงานและพำนักอาศัย ผลงานวีดีโอและศิลปะการจัดวางภาพและเสียงของเขาเต็มไปด้วยความสนุกและความ คิดหลักแหลม เผยให้เห็นถึงการรับรู้ของมนุษย์ที่เป็นแรงขับเคลื่อนเบื้องหลังโครงสร้าง ของความหมาย ตั้งแต่ปีค.ศ. 2004 ผลงานของเขาได้รับการจัดแสดงในนิทรรศการหลากหลายแนว ณ พิพิธภัณฑ์ พื้นที่จัดแสดงศิลปะ เทศกาลภายนตร์สั้นต่าง ๆ อยู่เสมอ รวมทั้งที่ Centre Pompidou ประเทศฝรั่งเศส Museum Reina Sofia กรุงมาดริด Künstlerhaus Mousonturm เมืองแฟรงเฟิร์ต เทศกาลวีดีโอนิวยอร์ก International Film Festival เมืองร็อตเตอร์ดัม International Short Film Festival โอเบอร์เฮาเซน ในปีค.ศ. 2009 เขาแสดงนิทรรศการเดี่ยวครั้งแรกที่ Glaskasten Marl Sculpture Museum ตามมาด้วยผลงานแสดงเดี่ยว ณ Zendai Contemporary Art Exhibition Hall ในเมืองเซียงไฮ้และ Bochumer Kunstverein Daniel Burkhardt ได้รับรางวัลมากมายรวมถึง GWK Sponsorship Award และ Marl Video Art Award ในปีค.ศ. 2012 เขาได้รับรางวัลทุนจาก Stiftung Kunstfonds


10. Heidrun Holzfeind (Austrian) "Subway talk" Pal, Color, Sound, 8 min, 2005.


       ไฮดรุนท์ โฮสฟายทด์: ชาวออสเตรีย

       website: http://www.heidrunholzfeind.com/

        Born 1972 in Lienz, Austria.
Education
      1990-92 Studies in Art History at the University of Vienna
       1991-96 Academy of Fine Arts in Vienna (MFA in sculpture)
       1995 Exchange semester at Cooper Union, New York
       ไฮดรุนท์ โฮสฟายทด์ ชาวออสเตรีย เกิดที่ลิสนท์
        ปี 1990-92 ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ ณ. มหาวิทยาลัยเวียนนา
        ปี 1991-96 ศึกษา ณ. มหาวิทยาลัยศิลปะ แห่งกรุงเวียนนา สาขาประติมากรรม
        ปี 1995 โครงการแลกเปลื่ยน ณ. คูเปอร์ ยูเนียน
เมืองนิวยอรค์ ประเทศสหรัฐอเมริกา

 


11. Matej Modrinjak (Slovenian) "Upwards” Pal, Color, Sound, 9 min, 2005.


     มาเตจ์ โมดรเจค: ชาวสโลเวเนีย

     Always upwards. Sometimes it goes slow, sometimes it stops. But it goes never down.

     I was born in 1980 in Maribor, Slovenija. In 1999, I finished the school for Design and Photography in Ljubljana as Professional Photographer. Between the years 1999 and 2002 i worked for the SNG Maribor (Slovene National Theater) as a theater-photographer. In summer 2002 I attended at the artist in residence program Unidee, Cittadellarte-Fondazione Pistoletto in Italian city Biella. In June 2005 i finished my education in the Art and Digital Media Institute at the Academy of Fine Arts Vienna, with the Academic degree Magister Artium. In November 2005 i started the artist in residence program at AIRantwerp Antwerpen, Belgium.

       เขาเกิดในปีค.ศ. 1980 ในมาริบอร์ ประเทศสโลวีเนีย ในปีค.ศ. 1999 สำเร็จการศึกษาจาก school for Design and Photography ใน Ljubljana ในฐานะช่างภาพมืออาชีพ ระหว่างปีค.ศ. 1999 และ ปีค.ศ. 2002 เขาทำงานให้แก่ SNG Maribor (Slovene National Theater) ในฐานะช่างภาพโรงละคร (หรือภาพยนตร์) ฤดูร้อนปีค.ศ. 2002 เขาเข้าร่วมโครงการศิลปินในพำนัก Unidee, Cittadellarte-Fondazione Pistoletto ในเมือง Biella ประเทศอิตาลี เดือนมิถุนายน ปีค.ศ. 2005 เขาสำเร็จการศึกษาจาก Art and Digital Media Institute ที่ Academy of Fine Arts Vienna ด้วย Academic degree Magister Artium เดือนพฤศจิกายน ปีค.ศ. 2005 เขาได้เข้าร่วมโครงการศิลปินในพำนักที่ AIRantwerp Antwerpen ประเทศเบลเยี่ยม

Concept: แนวคิด:
             Sometimes it goes slow, sometimes it stops. But it goes never down.
              บางทีในบางอย่างนั้นมันอาจจะช้า และบางทีมันอาจจะหยุด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นมันไม่เคยหันกลับไป


12. Kosit Juntratip (Thai) "Kiss" Pal, Color, Sound, 9 min, 2005.


      โฆษิต จันทรทิพย์ : ชาวไทย

     He had finished (B.F.A) Fine Art Faculty, ChiangMai University and went to Germany, studied at Academy of Media Arts, Cologne (KHM) and Academy of Visual Arts, Leipzig, Germany. After had finished two art schools,  returned to Thailand, being as art instructor at Fine Art Faculty, ChiangMai University

      เรียนจบปริญญาตรีจากคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเดินทางศึกษาต่อปริญญาโทสาขามีเดียอารต์ (Academy of Media Arts, Cologne) เมืองโคโลนด์ และ ที่เมือง ไลด์สิค (Academy of Visual Arts, Leipzig) ประเทศเยอรมันนี หลังจากจบ ได้กลับมาสอนหนังสือ ณ. คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 


13. Arnont Nongyaow (Thai) "Drink Sky On Rabbit's Field" Pal, Color, Sound, 6.55 min, 2014.


     อานนท์ นงเยาวน์: ชาวไทย

      Website: http://www.arnontnongyao.com

Concept: แนวคิด:
         All things can always link to rational and un-rational,
        ทุกอย่างเกิดขึ้นมาด้วยเหตุผล และไร้เหตุผล

Education: การศึกษา:
  2003  B.F.A. (Painting), ChiangMai University, Thailand


         จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

 


14. Dieter Kovacic (Austrian) "Sobaschitzel" Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2006.


      ดีเตอร์ โควาซ์: ชาวออสเตรีย

      website: http://www.kunstradio.at/BIOS/diebbio.html

      Dieter KOVACIC (1973, Austria) lives and works in Vienna. He performs under the stage name Dieb13, and makes avant-garde music. As the life partner of Billy Roisz, he started making films. In 2013, they co-directed the short film Bring Me the Head of Henri Chrétien!. This project is a part of Vertical Cinema, a compilation programme consisting of ten experimental films on 35mm celluloid, made for projection on a monumental vertical screen. (all short) Schnitzel '07 (2008), Bring Me the Head of Henri Chrétien! (2013, co-d)

        ดีเตอร์ โควาซ์ ชาวออสเตรีย  เกิดปีค.ศ. 1973 พำนักอาศัย และทำงานในกรุงเวียนนา เขาแสดงงาน Dieb13 บนเวทีละคร และสร้างการทดลองดนตรี การเป็นคู่ชีวิตของ Billy Roisz ทำให้เขาเริ่มสร้างภายนตร์ ในปีค.ศ. 2013 พวกเขาร่วมกันกำกับภาพยนตร์สั้นชื่อ “Bring Me the Head of Henri Chrétien!” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Vertical Cinema หรือการรวบรวมโปรแกรม 10 ภาพยนตร์ทดลองบนเซลลูลอยด์ 35 มม. เพื่อการฉายลงบนฉากอนุสรณ์แนวตั้ง


15. Heidrun Holzfeind (Austrian) “Bitches (2007 reel)” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2006.


     ไฮดรุนท์ โฮสฟายทด์: ชาวออสเตรีย

      website: http://www.heidrunholzfeind.com/

 

16. Ittiphon Chuntong (Thai) "Family" Pal, Color, Sound, 5 min, 2007.

     อิทธิพล เชื้อทอง: ชาวไทย

     website:
           http://vimeo.com/bookieaka
           http://bookieaka.blogspot.com

      Ittiphon Chuatong work in career of Motion Graphic Design and visual effect sinc 2007,specialize in TV Promos section. Has worked in many project such as motion graphic for presentation or event, VFX for short movies, TV Spot, Programs packaging and also some private project video art.

      เรียนจบปริญญาโท (มีเดีย) สาขาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมฯ สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารพระจอมเกล้าลาดกระบัง อาศัยและทำงานในกรุงเทพฯ 


17. Nicole Schatt (Swiss) "Clinch" Pal, Color, Sound, 8.45 min, 2006.


      นิโคล์ ชาดท์: ชาวสวิส

     website: http://www.basis-wien.at/db/person/17869

    Nicole Schatt is a Swiss artist who was born in 1972. She has had several gallery and museum exhibitions, including at the Museum der Moderne Salzburg Rupertinum and at the Museum der Moderne Salzburg.

     Nicole Schatt นิโคล์ ชาดท์  เป็นศิลปินชาวสวิสเซอร์แลนด์ เกิดในปีค.ศ. 1972 Nicole Schatt ได้มีโอกาสแสดงงานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ รวมทั้ง Museum der Moderne Salzburg
 


18. Theerawat Maysasitthivit (Thai) "Monster" Pal, Color, Sound, 2.33 min, 2007.


      ธีรวัฒน์ เมษะสิทธิวิทย์: ชาวไทย

      B.F.A, Print Making, King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang 2011 M.F.A, Digital Art, Rungsit University, Bangkok

       จบการศึกษาปริญญาตรี สาขาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมฯ สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารพระจอมเกล้าลาดกระบัง และศึกษาระดับปริญญาโท ด้านดิจิตอล มหาวิทยาลัยรังสิต

       Concept: แนวคิด:

       My art work will depict small of part human body To understand the expectation in the world relates to viewers memory. When you see my artwork in the first time… you may see Strength the shape the texture .. not what you think. The idea of landscape of body, layer by layer make by the process of creation. This exhibiton will present "Between body and guessing.." Combine the aspect of experience focus on sensibility….. and viewers expectation. To invent the video art build in the wall space making sensual forms of mind, pararell with thinking of the viewers, what they expect to see? Small scale, large scale ….It is a ideal of sensual form to another female organ not entire body of her. Each framework/one depicts the loose position of body. Begin the project with the project VDO installation to the walls. I start this project by my exploration the human mind.

        พื้นที่ความคิดของมนุษย์นั้นกว้างไกลไม่สิ้น สุด การจำกัดความนึกคิดของมนุษย์จึงเกิดขึ้นเพื่อความเข้าใจในวัตถุประสงค์ เดียวกัน โดยประสบการณ์และสิ่งแวดล้อม เมื่อมนุษย์เกิดการปฏิสัมพันธ์กัน ประสบการณ์เป็นปัจจัยสำคัญที่จะกำหนดทิศทางของความนึกคิดและตอบสนองเป็นภาพ อันลางเลือน ให้ชัดเจน ความคาดหวังต่อจุดประสงค์จึงเกิดขึ้นและส่งผลต่อความคิด ณ ขณะนั้น จินตนาการและการคาดหวังนี้ ได้ตอบสนองความหวังที่อยู่ในส่วนลึกของจิตใจ ในงานชิ้นนี้ข้าพเจ้านำเสนอด้วย วีดีโออาร์ต โดยการตัดทอนบางส่วนของอวัยวะมาเป็นสิ่งที่มาสร้างความหวังให้กับผู้ชม ซึ่งแสดงถึงความตอบสนองและไร้การตอบสนองอย่างมิอาจคาดเดาได้ โดยวัตถุเหล่านั้นยังเชื่อมกับบางสิ่งบางอย่างที่เรามองไม่เห็น พลอยให้จินตนาการชิ้นส่วนที่เหลือ สร้างความคาดหวังโดยใช้ตัวงานเป็นตัวสร้างและตอบสนองในจุดหนึ่ง ซึ่งอาจจะสร้างความพอใจหรือไม่กับผู้ชมก็ได้ ยิ่งผู้ชมมีความคาดหวังกับสิ่งที่ตนเองหวังมาก การตอบสนองของงานที่เกิดกับผู้ชมก็จะดูน้อย หรือบางครั้งมันอาจสร้างความประหลาดใจบางอย่างกับผู้ชมก็เป็นได้ การคาดหวังนี้เกิดขึ้นและดับลงในกระบวนการนึกคิดของผู้ชมเอง ประวัติการแสดงงาน  


19. Thorsten Schneider (German) "Auftritt" Pal, Color, Sound, 5 min, 2005.


     โทรสเทน ชเนอเดอร์: ชาวเยอรมัน
 
      *1976 in Düsseldorf, lebt in Köln
1997 bis 2000 Studium der Kunstgeschichte, Germanistik und Anglistik in Düsseldorf
1999 bis 2000 Praktikum Fotografie im Fotostudio einer Werbeagentur in Düsseldorf
2000 bis 2005 Studium der Kunst an der Kunsthochschule für Medien Köln
(bei Jürgen Klauke, Peter Zimmermann und Thomas Hensel)
         2006 bis 2009 Mitbegründung und Kuratorium Kunstraum BLAST in Köln,
Ausstellungen und Veranstaltungen junger Künstlerinnen und Künstler www.b-l-a-s-t.de

        เกิดปี 1976 เมืองดุซเซิลด็อฟ อาศัยในเมืองโคโลนด์
       ปี 1997-2000 ศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ และภาษาศาสตร์ วรรณคดีในเมืองดุซเซิลด็อฟ
        ปี 1999-2000 ศึกษาการถ่ายรูป ในเมืองดุซเซิลด็อฟ
        ปี 2000-2005 ศึกษาศิลปะ ณ. Kunsthochschule für Medien Köln (KHM) โดยโปรเฟสเซอร์ ปีเตอร์ ซิมเมอร์แมน และโปรเฟสเซอร์ โทมัส เฮนเซล


20. Matthias Neuenhofer (German) "Tor Baum" Pal, Color, Sound, 2 min, 2003. 


      มาเทียอัส นอยโฮเฟอร์: ชาวเยอรมัน

      website: http://matthias.neuenhofer.de/ 


21. Hee-Seon Kim (Korean) "Going 99-01" Pal, Color, Sound, 4.49 min, 1999.


      เฮซอล คิม: ชาวเกาหลี 

22. Alex Heim (German) “Heimorgeln” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2006.


      อเล็ก เฮม: ชาวเยอรมัน

website:
        www.marginiartecontemporanea.com/index.php option=com_content&view=article&id=92&Itemid=6
       Born 1977 in Hamburg, Germany
        1998 – 2004Studied in Fine Art at Hochschule für bildende Künste Hamburg (F. E. Walther)
         2002 – 2003 German National Merit Foundation
         2004 German Academic Exchange Service (DAAD)
         2004 – 2006 MA in Fine Art at Goldsmiths College London
         2005 Red Mansion Art Price (London - Beijing)
           เกิดที่ ฮัมบวกค์ ปี 1977
         1998-2004 ศึกษาศิลปะที่ Hochschule für bildende Künste Hamburg เมืองฮัมบวกค์ ประเทศเยอรมันนี
         2002-2003 ได้ทุนจาก German National Merit Foundation
         2004 ได้ทุน DAAD
         2004-2006 ศึกษาระดับปริญญาโท ณ. Goldsmiths College London
         2005 ได้รางวัล Red Mansion Art Price (London - Beijing)
 


23. Urs Domingo Gnad (German) "Egotrip" Pal, Color, Sound, 6 min, 2004.


       อัว โดมินโก เกนัด: ชาวเยอรมัน

website:
            http://www.filmfestivalrotterdam.com/professionals/persons/urs-domingo-gnad/

              Urs Domingo Gnad was born in Duesseldorf in 1980. After working as a projectionist, he assisted on several film and television productions and began his studies in 2001 at the Academy of Media Arts in Cologne. His films include: Bagger 25 - Portrait einer Maschine (2003), Timescratching (2003), and Ego trip (2004).
               อัว โดมินโก เกนัด ชาวเยอรมัน เกิดในปีค.ศ. 1980 ใน Duesseldorf หลังจากการทำงานเป็นผู้ฉายภาพยนตร์ (ถูกมั้ยคะ...) เขาได้มีส่วนในการช่วยการผลิตภาพยนตร์และโทรทัศน์ และได้เริ่มต้นการศึกษาในปีค.ศ. 2001 ที่ Academy of Media Arts ในโคโลญจน์ ผลงานภาพยนตร์ของเขารวมถึง Bagger 25 - Portrait einer Maschine (2003) Timescratching (2003) และ Ego trip (2004)
 


24. Johann Lurf (Austrian) "Vertigo Rush" Pal, Color, Sound, 19 min, 2008.


      โจฮันน์ ลูรส: ชาวออสเตรีย

website:
            www.johannlurf.net/en/

          Johann Lurf, born 1982 in Vienna, is studying at the Viennese Academy of Fine Arts, directs films and works as a projectionist part time. His short film "Vertigo Rush", a study on the dolly zoom, premiered at IFFR.

          โจฮันน์ ลูรส เกิดในปี 1982 เมืองเวียนนา ศึกษาศิลปะ
Viennese Academy of Fine Arts งานชื่อ Vertigo Rush นั้นเป็นการศึกษาการซูมเข้าออกผ่านเครื่องมือ ได้จัดฉาย ณ. IFFR
 


25. Pascal Fendrich/Bernd Härpfer (Germans) “Crude Carrier” Pal, Color, Sound, 5 min, 2008.


      พาสเคาร์ เฟนเดอร์ริค ชาวเยอรมัน-ฝรั่งเศส
     และ เบอร์ ฮัพพ์เฟอร์ ชาวเยอรมัน

website:
       http://www.pascalfendrich.net/en/
        http://www.härpfer.net/

การศึกษา โดยศิลปินทั้งสอง

        2000-2005 Academy of Media Arts Cologne, Prof. Jürgen Klauke and Prof. Peter Zimmermann, Diploma with honours
      2003/2004 Guest studies at the Academy of Fine Arts Düsseldorf, Prof. Georg Herold

     2000-2005 จบจาก Academy of Media Arts Cologne ประเทศเยอรมันนี โดย Prof. Jürgen Klauke and Prof. Peter Zimmermann, Diploma เกียรตินิยม
    2000-2004 นักศึกษาแลกเปลื่ยน ณ. Academy of Fine Arts Düsseldorf, โดย Prof. Georg Herold
          
Concept: แนวคิด:
       On its way along the Bosporus, the border between the continents of Europe and Asia, an NITC oil tanker of the VLCC class gets into a space-time abnormality. The skyline of the megalopolis Istanbul is drifting away in the background turning into a multidimensional hyperspace structure with infinite expansion. Undisturbed by this phenomenon of vanishing civilization the ship continues traveling to nameless regions ahead. In this work the spatiotemporal coordinates of the audiovisual footage are transformed. The reorganisation of space and time results in another continous representation of auditive and visual objects captured from our real environment although it establishes a completely abnormal artificial reality. As our contemporary conception and perception of space and time develops according to accelerating cultural processes the work especially reflects the alteration of spatiotemporal correlations.

             ตาม แนวเลียบช่องแคบอสฟอรัส ชายแดนระหว่างทวีปยุโรปและเอเชีย เรือบรรทุกน้ำมันขนาดใหญ่ NITC ของชั้น VLCC เข้าสู่การอวกาศในภาวะผิดปกติ เส้นขอบฟ้าของมหานครอิสตันบูลกำลังล่องลอยไปในพื้นหลังกลายสภาพเป็นโครง สร้างไฮเปอร์สเปซหลากมิติด้วยการขยายออกอย่างไม่สิ้นสุด ปราศจากการรบกวนด้วยปรากฏการณ์ของอารยธรรมที่หายไป เรือยังคงเดินทางต่อไปยังดินแดนไร้ชื่อข้างหน้า ในผลงานนี้ พิกัดที่ว่างและเวลาของภาพและเสียงที่บันทึกไว้ถูกเปลี่ยนแปลง การจัดระบบใหม่ของที่ว่างและเวลาส่งผลในอีกการแสดงอย่างต่อเนื่องของวัตถุ ภาพและเสียงที่ถ่ายภาพจากสิ่งแวดล้อมจริงแม้ว่ามันสร้างความจริงที่สร้าง ขึ้นอย่างผิดปกติโดยสิ้นเชิง จากการที่แนวคิดร่วมสมัยของเราและการรับรู้ของที่ว่างและเวลาพัฒนาตาม ขบวนการทางวัฒนธรรมที่กำลังเร่ง ผลงานสะท้อนการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์กันของที่ว่างและเวลา
 


26. Susi Jirkuff (Austrian) "Friday I am in love" Pal, Color, Sound, 3 min, 2008.


       ซูซี่ เจร์คูสส์: ชาวออสเตรีย

Website:
            http://www.artbook.com 9783869843674.html

            Over two years, Austrian artist Susi Jirkuff (born 1966) collated information from television, newspapers and the internet to produce videos and installations that attempt to breach the ubiquitous fabric of media reality.
            กว่าสองปีแล้ว ศิลปินซูซี่ เจร์คูสส์ เกิดในปี 1966 ได้เก็บข้อมูลจากโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และสื่อทางอินเตอร์เน็ท  เพื่อเป็นการทำงานศิลปะวีดีโอ และงานแนวจัดวาง ซึ่งเป็นสิ่งที่เผยให้เห็นการเก็บรายละเอียดที่เราๆพบกันโดยทั่วไป แปลความหมายให้ข้อมูลเหล่านี้เป็นผลงานทางศิลปะ
 


27. Jan Machacek (Austrian) "In the mix" Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


      ยัน มาฮาเชค์: ชาวออสเตรีย

website:
            http://lightcone.org/en/filmmaker-1808-jan-machacek

        Born 1975 in Vienna, Austria. Study of sculpture and stage-design in Vienna and Karlsruhe. Since 2001 Jan MACHACEK is showing his 'live-Video-Performances'. In these works the film-studio is turned into a stage for performances. The performer appears as cameraman, director, technician and actor at the same time. He films himself, in sections and manipulated by optical tricks on a stage that is transformed into a film-studio.
        ยัน มาฮาเชค์ เป็นชาวออสเตรีย  เกิดในปี ค.ศ. 1975 ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ศึกษาประติมากรรมจากมหาวิทยาลัยศิลปะ กรุงเวียนนา และจบการศึกษาการออกแบบโรงละครจากมหาวิทยลัยคาร์ซลูเฮ  ตั้งแต่ปีค.ศ. 2001 Jan MACHACEK เขาได้แสดง (การแสดงวีดีโอสด) 'live-Video-Performances' ในผลงานดังกล่าว สตูดิโอภาพยนตร์ได้ถูกปรับเปลี่ยนเป็นเวทีสำหรับการแสดง นักแสดงปรากฏตัวเป็นช่างภาพ ผู้กำกับ ช่างเทคนิคและนักแสดงในเวลาเดียวกัน เขาถ่ายภาพยนตร์ตัวของเขาเองในบางตอนและปรุงแต่งด้วยกลการลวงตาบนเวทีที่ ซึ่งถูกเปลี่ยนให้เป็นสตูดิโอภาพยนตร์
 


28. Menno Aden (German) "My Space" Pal, Color, Sound, 1.30 min, 2008.


      เมนโน อาเดน: ชาวเยอรมัน

website:
            http://mennoaden.com/contact.html

Concept: แนวคิด:
       On its way along the Bosporus, the border between the continents of Europe and Asia, an NITC oil tanker of the VLCC class gets into a space-time abnormality. The skyline of the megalopolis Istanbul is drifting away in the background turning into a multidimensional hyperspace structure with infinite expansion. Undisturbed by this phenomenon of vanishing civilization the ship continues traveling to nameless regions ahead. In this work the spatiotemporal coordinates of the audiovisual footage are transformed. The reorganisation of space and time results in another continous representation of auditive and visual objects captured from our real environment although it establishes a completely abnormal artificial reality. As our contemporary conception and perception of space and time develops according to accelerating cultural processes the work especially reflects the alteration of spatiotemporal correlations.


         Room Portraits
         Photographer Menno Aden likes to look down on his subjects, but in about the least pretentious way possible. To him, it’s just another way of seeing someone’s personality. “For me as an artist, watching from a higher position on a small space is interesting because I can see someone’s ‘compressed personality,’ ” Aden says. “I started photographing rooms of friends in Berlin, to make portraits of them without actually seeing them. Many of them had—or still have—an unpretentious life, which is quite typical in Berlin since rents have been quite low.” Shooting from above, however, can make even the most obvious candidate for a Hoarders episode look neat and organized. “This happens because all the things on the floor such as the
furniture flatten into two dimensions,” explained Aden. “I knew about it and I wanted this organized look over chaotic spaces because it makes the viewer feel elevated—sublime—but to be honest I didn’t know that an untidy room would look so organized, too.” Aden admits he is often scouting rooms and other types of
spaces constantly.
         “When I find a good one [space] I walk through a room, stare at the floor, and note the furniture or the structure of a room. If a room interests me, I’m making plans where I’ll put the camera and check the height and material of the ceiling,” wrote Aden. From there, the process begins with Aden taking wide-angle images to get an overview of the room. If he’s still interested in the aesthetic, he elevates his camera (with or without assistants) sometimes with a monopod or tripod, other times with a boom. The camera is often controlled remotely. He takes about 150 pictures from the elevated position and then begins his post-production processing and final editing. Aden isn’t limited to private spaces. He has take images of stores, in elevators, and also in basements and parking garages, which are some of his most abstract work. About the garages, Aden explained: “One day I stumbled upon the basement garage of a supermarket where I was buying some food. I noticed the dirty and oily traces cars make that went over some lines in the parking lots. I took some test pictures and
liked the lines—they remind me of calligraphy ... so I started to do a series that could easily redefine the term ‘oil-paintings.’ ” David Rosenberg (Slate/Washington Post)

        ศิลปิน Menno Aden ทำงานชุด Room Portraits เขาชอบที่จะมองลงไปยังเนื้อหาแต่ก็เป็นไปในเชิงอวดอ้างน้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้สำหรับเขา นั่นเป็นเพียงอีกวิธีหนึ่งที่จะมองเห็นบุคคลิกลักษณะของใครบางคน “สำหรับผมในฐานะศิลปิน การมองจากมุมที่สูงกว่าในพื้นที่เล็ก ๆ เป็นสิ่งที่น่าสนใจเพราะผมสามารถมองลักษณะเฉพาะที่ถูกบีบอัดของเขาหรือเธอ”  Aden กล่าวว่า “ผมเริ่มจากการถ่ายภาพห้องต่าง ๆ ของเพื่อนผมในกรุงเบอร์ลินเพื่อสร้างภาพพอร์ทเทรตของพวกเขาโดยปราศจากการมอง เห็นพวกเขาจริง ๆ พวกเขาหลายคนมี-หรือยังมี-ชีวิตที่อยู่ในสภาพเดิม  ซึ่งเป็นปกติในเบอร์ลินเพราะค่าเช่าค่อนข้างต่ำ” อย่างไรก็ตาม การถ่ายจากมุมมองด้านบนสามารถทำให้แม้ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นนักสะสมตัวยง ดูเรียบร้อยและเป็นระเบียบ “ที่เกิดขึ้นแบบนี้เป็นเพราะสิ่งของต่าง ๆ บนพื้น เช่น เฟอร์นิเจอร์ดูแบนเป็นลักษณะ 2 มิติ” Aden อธิบาย “ผมรู้ดีและต้องการภาพที่ดูเป็นระบบระเบียบเหนือพื้นที่ที่สับสนวุ่นวาย เพราะนั่นทำให้ผู้ชมรู้สึกอยู่ในระดับสูง -สูงส่ง น่าศรัทธา- แต่ด้วยความสัจจริง ผมไม่ได้รู้มาก่อนว่าห้องที่ไม่เรียบร้อยจะดูมีระเบียบได้เหมือนกัน” Aden ยอมรับว่าเขามักจะสังเกตการณ์ห้องและพื้นที่ใช้สอยประเภทต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง “เมื่อผมพบพื้นที่ที่ดี ผมเดินผ่านเข้าไปในห้อง จ้องมองบนพื้นและจดบันทึกภาพเฟอร์นิเจอร์และโครงสร้างของห้อง ถ้าห้องนั้น ๆ น่าสนใจ ผมจะวางแผนถึงตำแหน่งที่ผมจะตั้งกล้อง ตรวจดูความสูงและวัสดุของเพดาน” จากตรงนั้นคือกระบวนการได้เริ่มต้นขึ้น Aden ถ่ายภาพมุมกว้างเพื่อจะเห็นภาพรวมของห้อง ถ้าเขาจะยังสนใจในความงาม เขาจะตั้งกล้องให้สูง (ด้วยการมีหรือไม่มีผู้ช่วย) บางครั้งด้วยขาตั้งกล้องแบบขาเดียวและสามขา หรือครั้งอื่น ๆ ใช้บูมหรือขาตั้งไมโครโฟน (boom อันนี้ไม่แน่ใจนะคะ) บ่อยครั้งที่กล้องถูกควบคุมอยู่ไกล เขาถ่ายประมาณ 150 ภาพจากตำแน่งสูงและเริ่มกระบวนการหลังการผลิตและการตัดต่อครั้งสุดท้าย Aden ไม่ได้จำกัดเฉพาะพื้นที่ส่วนตัว เขาถ่ายภาพร้านค้าต่าง ๆ ในลิฟท์โดยสาร รวมถึงชั้นใต้ดินและบริเวณลานจอดรถซึ่งเป็นบางส่วนของงานรูปแบบนามธรรมของ เขา ในส่วนของลานจอดรถ Aden อธิบายว่า “วันหนึ่ง ผมพบที่จอดรถชั้นใต้ดินของซุปเปอร์มาร์เก็ตโดยบังเอิญขณะกำลังซื้อของ ผมสังเกตถึงความสกปรกและคราบน้ำมันจากรถเกิดเป็นลายเส้นในลานจอดรถ  ผมทดลองถ่ายภาพและชอบเส้นเหล่านั้น -พวกมันทำให้ผมนึกถึงการเขียนด้วยลายมือ- ดังนั้นผมจึงเริ่มผลงานชุดนี้ที่ให้คำจำกัดความใหม่อย่างง่ายดายว่า ‘ภาพสีน้ำมัน’” David Rosenberg (Slate/Washington Post)

 


29. Anja Krautgassner (Austrian) “Beyond” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2008.


    อันจา เคาอท์กาสเนอร์ซ: ชาวออสเตรีย

website:
             http://www.annjakrautgasser.net/home.php

        Vienna based artist with a background in architecture. Participation at national and international festivals and exhibitions such as the Nimk, Amsterdam, the Lothringerhalle 13, Munich and the Secession, Vienna, among others. Several Artist-in-Residencies in London (2002), Los Angeles (Mak Schindler AIR, 2005), Paliano (I, 2006), The Hague (2007) and Amsterdam (2009), BMUKK Auslandsstipendium Krumau (2014).

      เป็นศิลปินชาวเวียนนา ซึ่งมีพื้นเพเป็นสถาปนิก เธอได้ร่วมแสดงผลงานในระดับชาติ และนานาชาติอย่างมากมาย อย่างเช่น ในงาน Nimk, Amsterdam, the Lothringerhalle 13, Munich and the Secession, Vienna และยังเคยได้ทุนต่างๆ อาทิ Artist-in-Residencies in London (2002), Los Angeles (Mak Schindler AIR, 2005), Paliano (I, 2006), The Hague (2007) and Amsterdam (2009), BMUKK Auslandsstipendium Krumau (2014) อีกด้วย
 


30. Manuel Knapp (Austrian) "Distorted Areas" Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


      มานูเอล คเนพ: ชาวออสเตรีย

       website:
                     www.manuelknapp.com

       Concept: แนวคิด:

        Manuel Knapp's four-minute long video portrays moving patterns of black & white graphics. Made using realtime editing technologies, Distorted Areas~0.1's video image is a result of manipulated magnifications showing the contortions, disturbances and alienations of the original 3-D source effects. The processes of the programming of the textures and parameters, as well as the camera-scanning, take place within the boundaries between software and electronics. Principles of coincedence govern the montage of digital images, while the sound is from analog disturbances created by feedback and effects.

       มานูเอล คเนพ ชาวออสเตรีย Land: at Year: 2008 Duration: 04:34 Format: film/video ผลงานวีดีโอความยาว 4 นาทีของ มานูเอล คเนพ ถ่ายทอดภาพเคลื่อนไหวของลวดลายกราฟฟิคขาวและดำ ด้วยเทคโนโลยีการตัดต่อสด (เรียลไทม์) ภาพวีดีโอในพื้นที่ที่บิดเบือน ~0.1 เป็นผลมาจากสภาพการขยายที่ถูกเปลี่ยนแปลงแสดงภาวะบิดเบี้ยว (ไม่ทราบงานจริงบิดเบี้ยวรึเปล่า เปลี่ยนคำได้ค่ะ ) สิ่งรบกวน และสภาพผิดปกติของแหล่งกำเนิด 3 มิติ ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมของพื้นผิว ตัวแปรต่าง ๆ และการใช้กล้องเกิดขึ้นภายในขอบเขตระหว่างซ็อฟแวร์และอิเล็คทรอนิคส์ หลักการต่าง ๆของความบังเอิญควบคุมการซ้อนกันของภาพดิจิตอลขณะที่เสียงเกิดจากการรบกวน แบบอนาล็อกซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยผลสะท้อนกลับและปรากฏการณ์ต่าง ๆ


31. Namfon Udomlertlak (Thai) "Oh my god" Pal, Color, Sound, 4.45 min, 2009.


      น้ำฝน อุดมเลิศรักษ์: ชาวไทย

website:
           http://th.linkedin.com/pub/namfon-udomlertlak/89/6b4/9

        2005 – 2009 Bachelor of Arts (B.A.), Painting
        2013 – 2015 Nederlandse Film en Televisie Academie, Master's degree, Film/Cinema/Video Studies

       2005- 2009 จบการศึกษาระดับปริญญาตรีจาก คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร
        2013 – 2015 กำลังศึกษาปริญญาโท ณ. Nederlandse Film en Televisie Academie, Master's degree, Film/Cinema/Video ประเทศเนเธอร์แลนด์ 


32. Jan Arlt (Austrian) “untitled 1” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2009.


       จาน อาร์ท: ชาวออสเตรีย

website:
              http://janarlt.com/

              His works have been presented in museums and galleries, on festivals and art-fairs, in concerts, theater, cinema, television, radio, print and the internet.

              จาน อาร์ท ชาวออสเตรีย งานของเขามักถูกทำในพิพิธภันณ์ และแกเลอรี่ หรือในเทศการศิลปะ แม้นแต่ใน
คอนเสริธ โรงภาพยนต์ โรงละคร ทีวีโชว์ งานการสิ่งพิมพ์ และสื่ออินเตอร์เนต
 


33. Egbert Mittelstädt (German) "Elsewhere" Pal, Color, Sound, 5.52 min, 2009.


      แอร์เบอท์ มิทเทลล์ชตัดท์: ชาวเยอรมัน

website:
              http://www.atelier-fuer-medienprojekte.de/

       Concept: แนวคิด:

       With this photographic method Egbert Mittelstädt decoples time and space. The “Slit-Scan” method he is using neglects the constants of a space and extracts movements from the taken scene. Depending on the speed, movement is stretched and pulled out of shape. However, it remains recognisable and concrete.

      แอร์เบอท์ มิทเทลชตัดท์ ชาวเยอรมัน มักใช้เทคนิควิธีภาพถ่ายภาพเป็นวิธีทำงาน อันเกี่ยวกับช่วงเวลา และพื้นที่ ผลงานที่ชื่อ Slit-Scan เป็นวิธีที่เขามักทอดทิ้งเนื้อหาของพื้นที่ และตัดตอนกฉากเคลื่อนไหวออกเป็นส่วนๆ โดยขึ้นกับความเร็วของฉาก การยืดของท่วงท่า และให้รูปร่างยืดออก อย่างไรก็ตามฉากนั้นยังสามารถคงสภาพเดิม และเฉพาะเจาะจงได้
 


34. Robert Vater (German) “TNT” Pal, Color, Sound, 14 min, 2009.


      โรเบอรท์ วาเทอร์: ชาวเยอรมัน

website:
            http://kulturundschule.de/kuenstlerpool/detail.php?idUser=47712

        Lebenslauf (biography)
        Seit 2000 künstlerische Tätigkeit als Musiker (Computermusik, Gitarre, Schlagzeug, Gesang), Komponist, Darsteller und Regisseur, sowie freiberufliche Arbeit als Video- und Toneditor und Kammeramann (Hörbuchproduktionen,Filmvertonungen,  Filmmusik, Synchronisation, Industrie und Werbefilm)
        
        ตั้งแต่ปี 2000 เป็นศิลปินที่ทำงานหลากหลายประเภท อาทิ ทำ Computermusic, กีต้า, กลอง, นักร้อง, นักประพันธ์,
เล่นละคร, เป็นผู้กำกับเวที ฯลฯ และนอกจากนั้นเธอยังทำงานอิสระทางด้านงานวีดีโอ และการบันทึกเสียง รวมทั้งเป็นช่างภาพ และตากล้องภาพยนตร์
 


35. Miriam Bajtala (Austrian) "Satellite me" Pal, Color, Sound, 9 min, 2009.


      มีเรียม ไบทาลา: ชาวออสเตรีย

       website:
                     http://miriambajtala.klingt.org/

      Concept: แนวคิด:

              Miriam Bajtala deals in her work with perception and the parameters that define and alter it, such as space, time, and context. Her repertoire includes videos, drawings, and sculptures, as well as text-based works and performative installations. In recent works, like the video 3 Stimmen (three voices, 2011) and the performances 2 Monologe für einen Chor (2 monologs for a chorus, 2011) and die Rede (the speech, 2012), Bajtala examines the linguistic articulation of (self-) empowerment, representation and communication. Speech, written text, vocal variations, losing and claiming language are both the objects and means of her artistic analysis.

              มีเรียม ไบทาลา มักทำงานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการสัมผัสที่ผ่านความรู้สึก และตัวแปรต่างๆที่ชี้ความหมาย หรือการปรับเปลื่ยนในด้านพื้นที่ เวลา และเนื้อหา โดยผลงานของเธอใช้เทคนิคมากมาย อาทิ งานด้านวีดีโอ การวาด และงานด้านประติมากรรม และงานด้านที่ใช้ภาษาเป็นสื่อ หรือด้านศิลปะจัดวางอีกด้วย ในช่วงผลงานที่ชื่อ video 3 Stimmen (three voices, 2011) และ performances 2 Monologe für einen Chor (2 monologs for a chorus, 2011) และ die Rede (the speech, 2012) นั้น ศิลปินได้ถ่ายทอดถึงพลังผ่านภาษาภาพ ซึ่งสื่อให้เห็นการนำเสนอ และหารสื่อสารได้อย่างชัดเจน รวมทั้งการพูด การออกเสียงที่แตกต่างกัน ทั้งที่สื่อให้เห็นการสูญเสีย และการความหมายใหม่ในภาษา ผ่านผลงาน และสื่อความหมายของสุนทรียภาพของศิลปิน 


36. Barbara Sturm (Austrian) "Destruction/Gallery 1:10" Pal, Color, Sound, 5 min, 2002-2006.


      บาบาร่า สตอร์ม ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด:

               Desolation/Gallery 1:10 Video, ca. 1min, loop
Die Galerieeinrichtung (einen Ausstellungsaufbau darstellend) bewegt sich von einer Seite zur anderen und die Wände entlang. The gallery furniture (representing the setup of an exhibition) moves from one side to the other and along the walls. This is the final state of Gallery 1:10 after five years of serving as a miniaturized gallery space which was on tour with and in various shows. 2001-2006

            แกลเลอรี่ไร้ผู้คน อัตราส่วน 1:10 โดย แกลเลอรี่นี้ประกอบไปด้วยเฟอร์นิเจอร์ของใช้ต่างๆมากมาย โดยถูกวางไว้ในสถานที่ๆเราๆมักคุ้นตา แต่แล้วของต่างๆได้ถูกย้ายอย่างฉับพลัน จากผนังด้านหนึ่งไปสู่ผนังอีกด้านหนึ่ง และแล้วสุดท้ายแกลเลอรี่ 1:10 ห้องนี้ผ่านการถูกใช้งานมา 5 ปี ในลักษณะแกลเลอนี่จำลองนี้ ซึ่งเคยถูกนำไปแสดงในงานศิลปะต่างๆมากมาย ตั้งแต่ปี 2001-2006
 


37. Matthias Neuenhofer (German) “Qat Souk” Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2008.


      มาทีอัส นอยเอ็นโฮเฟอร์: ชาวเยอรมัน

      website:
                    http://matthias.neuenhofer.de/

      Concept: แนวคิด:

       The Khat market in Sana'a, Yemen, a walk-through.
The fresh leaves and tops are chewed in order to achieve a state of euphoria and stimulation. Khat use has traditionally been confined to the regions where khat is grown, because only the fresh leaves have the desired stimulating effects. Traditionally, khat has been used as a socializing drug, and this is still very much the case in Yemen where khat-chewing is predominantly, although not exclusively, a male habit. When khat leaves dry, the more potent chemical, cathinone, decomposes within 48 hours leaving behind the milder chemical, cathine. Thus, harvesters transport khat by packaging the leaves and stems in plastic bags or wrapping them in banana leaves to preserve their moisture and keep the cathinone potent.

          การ ดำเนินผ่านตลาด Khat ใน Sana'a ประเทศเยเมน พืช Khat สดใหม่และยอดทั้งหลายใช้สำหรับเคี้ยวเพื่อที่จะได้บรรลุผลในการเข้าถึงภาวะ ความเคลิบเคลิ้มเป็นสุขและการกระตุ้น การใช้ Khat เป็นประเพณีที่จำกัดอยู่ในขอบเขตที่ที่พืช khat เติบโต เพราะใบที่สดใหม่มีผลกระตุ้นความปรารถนา ตามธรรมเนียม Khat ใช้ในกลุ่มของยา และยังคงใช้มากในประเทศเยเมนที่ซึ่งนิยมการเคี้ยวพืช khat แม้ว่าจะไม่เพียงแต่ในกลุ่มเพศชายเท่านั้นที่ติดเป็นนิสัย เมื่อใบ khat แห้งลง จะให้ผลทางเคมีมากขึ้น สารคาทิโนนจะย่อยสลายใน 48 ชั่วโมง เหลือไว้ซึ่งเคมีที่เบาบางคือ คาทีน ด้วยเหตุนี้ผู้เก็บเกี่ยวขนส่งพืช khat ด้วยการบรรจุใบและลำต้นในถุงพลาสติกหรือห่อด้วยใบกล้วยเพื่อกักเก็บความชื้น และรักษาประสิทธิภาพของคาทิโนน 


38. Rimas Sakalauskas (lithuanian) "Synchronization" Experimental Animation, DVD Pal, 4:3, Color, Sound, 8 min, 2009.


      รีมัส ซากาเลาซคาร์ส: ชาวริโทเนีย

      Concept: แนวคิด:

       I am a video artist, based in Vilnius, Lithuania. My artistic background is relatively poor. Only after graduation in Vilnius Academy of Arts I started to participate and promote my video works. In my childhood i had a try creating art in wider range of mediums. It consist music creation, singing, playing drums and percussion, theater, live drawing, sculpturing. However, later I compressed my activity to a narrow field - computer graphics, video and sometimes digital photography.

          Synchronisation initially was a video without any idea. In the begging I just felt, that I want to make some thing with big static objects, probably buildings. So I started to visit industrial areas and make photos of things, which attracted me. Thus I collect kind of a library of abandoned factories, various towers, chimneys, antennas, electricity installation and other devices. While doing this I intuitively get an idea to rotate those towers or lift objects in to the air. To make obvious falsification. Therefore I imply that this behavior may have an interesting, not common effect. And so later it was just a question of time: simply improvising with various items and finding best combinations, which latter become kinds of globe, water tower and antenna. With a help of the lecturers I realize that fragmenting movement of those actions weaken video and therefore I have chosen to use static camera - as most objective way to observe. People in my video act like a moving detail, similar to bird flocks, grass swinging or clouds.

           ผม เป็นศิลปินวีดีโอทำงานใน วิลนีอุส ประเทศริโทเนีย ภูมิหลังทางศิลปะของผมค่อนข้างน้อย หลังจากสำเร็จปริญญาตรีในอเคดามีออฟอาร์ตวิลนีอุสผมได้เข้าไปมีส่วนร่วมและ ประชาสัมพันธ์ผลงานวีดีโอของผม ในวัยเด็ก ผมได้พยายามสร้างงานศิลปะด้วยสื่อหลากหลายซึ่งรวมถึงการสร้างดนตรี การขับร้อง การตีกลองและการเคาะ การละคร การเขียนภาพสด การปั้น อย่างไรก็ตาม ต่อมาผมได้กระชับกิจกรรมให้อยู่ในสาขาที่แคบลง - คอมพิวเตอร์กราฟฟิค วีดีโอและภาพถ่ายดิจิตัลบ้าง การซิงโครไนซ เริ่มต้นจากรูปแบบของวีดีโอโดยปราศจากแนวคิด ในตอนเริ่มต้นผมยังทำได้ไม่ค่อยดี คือผมต้องการสร้างอะไรที่ใหญ่และมั่นคง อาจเป็นตึกหรืออาคาร ผมจึงได้เริ่มเยี่ยมชมพื้นที่ทางอุตสาหกรรมต่าง ๆ และถ่ายภาพสิ่งต่าง ๆ ที่ดึงดูดความสนใจ ทั้งยังสะสมวัสดุเหลือใช้จากโรงงาน อาคารสูงต่าง ๆ เช่น ปล่องไฟ เสาอากาศ เครื่องไฟฟ้าและอุปกรณ์อื่น ๆ ราวกับเป็นห้องสมุด ขณะเดียวกันผมก็เกิดไอเดียในการหมุนอาคารเหล่านั้นและยกสิ่งของต่าง ๆ ขึ้นไปในอากาศ ในการทำสิ่งลวงให้เห็นได้ชัดเจน ดังนั้นผมจึงอนุมานว่าพฤติกรรมนี้อาจสร้างความน่าสนใจ ไม่ใช่ผลธรรมดาทั่วไป และต่อมาก็คือคำถามเรื่องของเวลา: เพียงการแสดงโดยไม่ได้ตระเตรียมมาก่อนกับหลากหลายสิ่งและหาการรวมกันอย่างดี ที่สุดซึ่งภายหลังกลายเป็นการคละกันของลูกโลก น้ำ ตึกสูงและเสาอากาศ ด้วยความช่วยเหลือของผู้บรรยายทั้งหลาย ผมตระหนักถึงการเคลื่อนไหวของชิ้นส่วนต่าง ๆ ซึ่งทำให้ผลงานดูไม่มีน้ำหนัก ผมจึงเลือกใช้กล้องที่นิ่งอยู่คงที่ – เพื่อวัตถุประสงค์ในการสังเกต ผู้คนในวีดีโอของผมแสดงราวกับการเคลื่อนไหวคล้ายฝูงนก ต้นหญ้ากำลังร้องเพลงหรือก้อนเมฆ 


39. Harald Hund & Paul Horn (Austrian) "Dropping Furniture" Pal, Color, Sound, 9 min, 2008.



      ฮารอล์ด ฮุน และ พอลร์ โฮนน์: ทั้งสองเป็นชาวออสเตรีย

website:
            http://www.hundhorn.com/

         Paul Horn and Harald Hund have been working together for a number of years on several film and video projects, complementing each other in their respective areas of work and interests as far as new approaches to filmmaking are concerned.

         ฮารอล์ด ฮุน และ พอลร์ โฮนน์ ได้ทำงานมาด้วยกันเป็นเวลาหลายปีแล้วทั้งงานด้านภาพยนต์ และด้านวีดีโอ โดยทั้งสองมีความต้องการถ่ายทอดการทำงานผ่านสื่อต่างๆเหล่านี้ รวมทั้งให้ความสนใจไปกับประเด็นเรื่องความหมาย และหาหนทางใหม่ๆในสื่อประเภทนี้เสมอ


40. Nanthanach Ithisampand (Thai) "My mind, imagination from traveling" Pal, Color, Sound, 2 min, 2010.


      นันธนาส อินธิอัมพันธ์ ชาวไทย

      จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ณ. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะศิลปกรรม

41. Susanne Schuda (Austrian) "Spoken under the skin" Pal, Color, Sound, 5 min, 2008. 


       ซูซานเน่ ชูอดา: ชาวออสเตรีย

       website:
                     http://www.susanneschuda.net/index.html

       Concept: แนวคิด:

        Every day we take decisions: decisions between affirmation and negation, between yes and no, 1 and 0. Susanne Schuda’s artwork The Poet (2008) begins suddenly: I hate mornings, that's when I dream of fitting in. I'm a piece of plasticine, a kid's toy that never finds the right shape. I'm being tested. In this video installation, the protagonist’s inward monologue pervades the public space as well as our perception.  The text is embedded in a collage of animated photographs. The backdrop of images and sounds merges elements that do not belong together: psycho-social aspects of everyday-life realities – the life realities of the poet – pair with the pictures of public knowledge production. 
         I’ve got you under my skin… And then I think "you or me". And they think the same, I know they do, it's the way they look at me. The poet understands himself as a cultural being, he is sensitive and has a harmonious vision of the world, in which he likes so much to stay. Both this harmony and the poet become uncomforable, however, as soon as his vision is disturbed. All of a sudden, the mood evoked by this video becomes uncomfortable too: I swear by tempered steel wire, you can cut anything off with it, you can strip the flesh from the bones with it. Destroy everything and see there's nothing behind it.
. The facade starts to crumble.
         Blood splashes, at first like a fountain, just very briefly, then in slow-motion, in an over-aestheticised way. In the course of the video narration the poet develops from a subtle human being to an individual who reverses hate against himself into hate against others: And every chance I get not to say something, whether it's "Nigger", "Jew" or "fat frau", I think "Nigger", "Jew", "fat sow".. Aggressions against his own unloved qualities cannot be dissolved, because he is unable to get rid of himself as the object of hate. The constant replenishment of hate, which – because of his own inability to deal with it – is directed against others, is the starting point of this artwork.
          The images developing alongside the poet’s intellectual world are known. They could be images from fashion journals and travel magazines, but they might also be derived from conflict areas somewhere in the world. In this way, they find a new context in the video and installation and advance the protagonist’s imaginative process. Susanne Schuda plays with the collective subconscious, which she visualises in a media space through narrative elements. 
           The artist underlines the subconscious through a very deliberate over-staging, extension and exaggeration. In The Poet (2008), she creates a dark and artificial atmosphere with her computer-generated and digitalised language of forms. The poet’s schizophrenic character reflects the time, future and past aspects, the here and now, simultaneously. The protagonist springs from the natural fear of taking an opposing stand: every day we take decisions, such as getting up or staying in bed, commitment or refusal, living or dying – Self-medication.

              การพูดคุยภายใต้ผิวหนัง
เกี่ยวเนื่องกับบทกวี (2008) Susanne Schuda,
ทุกวันเราใช้เวลาในการตัดสินใจ : การตัดสินใจระหว่างการยืนยันและปฏิเสธระหว่างใช่และไม่งานศิลปะบทกวี 1 และ 0 ของ Susanne Schuda (2008) เริ่มต้นขึ้นจาก: “ฉันเกลียดตอนเช้า, เมื่อในความฝันฉันกำลังถูกบีบอัด ฉันเป็นเพียงชิ้นส่วนของดินน้ามัน, เป็นของเล่นเด็กที่ไม่เคยพบว่ามีรูปร่างที่ถูกต้องเหมาะสม ฉันถูกทดสอบ” ซึ่งในวิดีโอจัดวางนี้มีตัวละครพูดเพียงผู้เดียวภายในพื้นที่สาธารณะ เช่นเดียวกับการรับรู้ของเรา ข้อความที่ถูกฝังอยู่ในภาพของภาพเคลื่อนไหว ฉากหลังของภาพและเสียงผสานองค์ประกอบที่ไม่ได้อยู่ร่วมกัน: จิตสังคมในความจริงของชีวิตประจาวัน - ความเป็นจริงของชีวิตในบทกวี - จับคู่กับภาพของการผลิต

              ความรู้สาธารณะ
ฉันมีคุณภายใต้ผิวของ... และแล้วฉันคิดว่า "คุณหรือฉัน" และพวกเขาคิดเหมือนกัน ฉันรู้ว่าพวกเขาจะไม่รู้วิธีที่พวกเขามองมาที่ฉัน กวีเข้าใจว่าตัวเองเป็นสิ่งมีชีวิตทางวัฒนธรรม เขาเป็นคนที่มีความสาคัญและมีวิสัยทัศน์ที่กลมกลืนกับโลก เขารักที่จะอยู่อย่างกลมกลืนและสร้างบทกวีที่อึดอัด แต่ทันทีที่วิสัยทัศน์ของเขาถูกรบกวน สิ่งที่ปรากฏในวิดีโอนี้จะกลายเป็นอารมณ์อึดอัดอย่างมหาศาล ฉันขอสาบานด้วยลวดเหล็กแห่งอารมณ์ คุณสามารถตัดอะไรออกไปพร้อมกับมัน คุณสามารถตัดเนื้อจากกระดูกของมัน ทำลายทุกอย่างและดูไม่มีอะไรที่อยู่เบื้องหลังของมัน อาคารเริ่มจะแตกสลาย เลือดกระเด็น, ในตอนแรกเหมือนน้าพุ, เพียงชั่วครู่, แล้วเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ, เกินหนทางที่จะสร้างสุนทรียภาพ ในกรณีของการบรรยายวิดีโอ บทกวีพัฒนามาการความเป็นส่วนตัวมนุษย์ ที่กลับเกลียดชังตัวเอง และเกลียดชังผู้อื่น: และทุกโอกาสที่ฉันได้รับไม่ได้ที่จะบอกว่าบางสิ่งไม่ว่าจะเป็น นิโกร ยิว หรือ ความอ้วน ฉันคิดว่า นิโกร ยิว หรือ ความอ้วน... กับการก้าวไปสู่คุณค่า ไม่มีใครรักเขาเอง ไม่สามารถละลาย เพราะเขาไม่สามารถที่จัดตัวเอง ซึ่งเป็นวัตถุแห่งความเกลียดชัง การเติมเต็มอย่างต่อเนื่องของความเกลียดชัง – เนื่องจากการไร้ความสามารถของตัวเองที่จะจัดการกับมัน – ซึ่งเป็นการจัดการกับผู้อื่นโดยตรง เป็นจุดเริ่มต้นของงาน

                   ศิลปะชิ้นนี้
ภาพการพัฒนาควบคู่ไปกับโลก ทางปัญญาของกวีเป็นที่รู้จักกัน พวกเขาเป็นภาพจากนิตยสารแฟชั่นและวารสารการเดินทาง แต่พวกเขาอาจจะมาจากความขัดแย้งในพื้นที่ที่ใดที่หนึ่งในโลก ด้วยวิธีนี้พวกเขาพบว่าบริบทใหม่ในวิดีโอและการจัดวาง และความก้าวหน้าของกระบวนการความคิดสร้างสรรค์ของตัวละคร Susanne Schuda เล่นกับจิตใต้สานึกของส่วนรวม ซึ่งเธอสร้างทัศนะในพื้นที่สื่อถึงองค์ประกอบการเล่าเรื่อง
ศิลปินตอกย้าจิตใต้สานึกผ่านการพิจารณามากกว่าการแสดงออกเกินจริงแบบละคร ในบทกวี (2008) เธอสร้างบรรยากาศที่มืดและเทียมด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์สร้างขึ้น และมุมมองแบบดิจิตอลของเธอในรูปแบบตัวละครจิตเภทกวี สะท้อนให้เห็นถึงเวลาใน อนาคต อดีต และตอนนี้ พร้อมกัน น้าพุตัวเอกจากความกลัวตามธรรมชาติยืนอยู่ฝั่งตรงข้าม ทุกวันที่เราตัดสินใจ เช่น ได้การตื่นขึ้น หรือนอนนิ่งอยู่บนเตียง มุ่งมั่นหรือปฏิเสธที่อาศัย อยู่หรือตาย – ตัวตน - ยารักษาโรค 


42. Johan Lurf (Austrian) "The quick brown fox jumps over the lazy dog" Pal, Color, Sound, 3 min, 2009.


      โยฮัน ลูร์ฟ: ชาวออสเตรีย

        The quick brown fox jumps over the lazy dog
         The green opening credits race across the screen so fast that the only way to read everything is by pausing the film. The scenes that follow are cut even shorter: Each consists of solely a single frame taken from other films, reproduced carefully, including the sprocket holes, and mounted in sequence. When projected in the normal way they are 1/24 seconds in length, and they are all differentiated so clearly that the succession creates a kind of flickering, which is rhythmically synchronized with the stuttering of the somewhat fragmentary optical soundtrack. This makes it difficult to tell who is a boxer, who Viktor is, and where the dike of Sylt is located. 
At the same time Johann Lurf´s super-short cuts appropriate the structure of a classic feature film. In the twitchy editing the individual frames deconstruct the normal sequence: The passage with various black frames – which serves as a kind of leader – is followed by another with fragments of a number of opening credits, then snippets of locations, possibly from establishing shots. Then come individuals or groups of two or more people, posing inside or outside, walking, driving cars, making music or having sex. Here and there subtitles appear suddenly, here and there a star can be recognized. But whether Charlotte Rampling, Klaus Kinski, wet asphalt, Kubrik´s The Shining, a box terrier or the sky: Everything possesses the same contingency. There is no dialogue, no shot/countershot, no chase ensues after these brief appearances. On the contrary, Lurf´s thesis film has a great deal in common with the found-footage experiments made by artists of the American neo-avant-garde, such as Morgan Fisher or Bruce Connor, though the way Lurf accelerates his visual salvoes is undoubtedly intended to produce ambiguity between media-specific reflection and overwhelming the audience. (Rainer Bellenbaum)

   โยฮัน ลูร์ฟ ชาวออสเตรีย ผลงาน "สุนัขจิ้งจอกสีน้ำตาลว่องไวมากหว่าสุนัขขี้เกียจ"

    การเปิดตัวเครดิตภาพยนตร์ผ่านหน้าจออย่างรวดเร็ว เพราะฉะนั้นวิธีเดียวที่จะอ่านทุกอย่างได้คือกำรกดหยุดภาพยนตร์นั้น ซึ่งฉากที่ถูกตัดอย่างสั้น ในแต่ละเฟรมของหนังเรื่องต่างๆ ทำซ้ำๆ อย่างระมัดระวัง รวมถึงหนามเตยและเม้าท์ในลำดับเหตุกำรณ์ โดยปกติในภาพยนตร์ทั่วไปมีความยาว 1 เฟรม ต่อ 24 วินาที และเพื่อให้เห็นความแตกต่างอย่างชัดเจน แต่ละเรื่องมีการสร้างประเภทของจังหวะของเสียงประกอบที่กระท่อนกระแท่น คล้ายกับกำรพูดติดอ่าง และเป็นแสงค่อนข้างริบหรี่นี้ ซึ่งทำให้ยากที่จะบอกได้ว่าใครคือนักมวย วิคเตอร์คือใคร และบริเวณที่ตั้งของสถานที่อยู่ไหน ซึ่งขณะเดียวกันผลงานการตัดต่อแบบซุปเปอร์สั้นของ Johan Lurf ไม่ว่าจะเป็น การจัดการในโครงสร้างของภาพยนตร์คลาสสิก การตัดต่อแต่ละเฟรมแยกแยะลำดับเหตุการณ์ปกติ ที่มีกรอบสีดำชนิดต่างๆ ที่ทำหน้าที่เป็นชนิดของขึ้นต้น ตามด้วยจำนวนหมายเลขการเปิดตัวเครดิตภาพยนตร์ และชิ้นส่วนภาพของสถานที่ ความเป็นไปได้ของหลักฐานที่มาจากการสร้างภาพ และความส่วนตัวของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ภายในหรือภายนอก เดิน ขับรถ ร้องรำทำเพลงเพลงหรือมีเพศสัมพันธ์ คำบรรยายที่ปรากฏในภาพยนตร์ในที่ต่างๆ ดาราหรือภาพยนตร์ที่ได้จากการการันตี ไม่ว่าจะเป็น Charlotte Rampling, Klaus Kinski, Wet asphalt, Kubrik´s The Shining, a box terrier or the sky: Everything possesses the same contingency ซึ่งในผลงานต่างไม่มีบทสนทนาซึ่งกันและกัน จากการปรากฏตัวสั้นๆ นี้ ในทางตรงกันข้ามภาพยนตร์ในวิทยานิพนธ์ของ Johan Lurf มีการหยิบยกภาพงานของศิลปินของอเมริกันในยุคนีโออาวองการ์ด ในการสร้างภาพยนตร์ทดลอง เช่น ผลงานของ Morgan Fisher หรือ Bruce Connor แต่วิธีที่ Johan Lurf เร่งสปีดผลงานของเขาเป็นความจงใจที่จะแสดงให้เห็นการผลิตที่คลุมเครือระหว่างสื่อและพื้นที่ ที่มีผลสะท้อนอย่างเหลือล้นต่อผู้ชม (Rainer Bellenbaum)
 


43. Nawarat Kanchaninthu (Thai) "Room" Pal, Color, Sound, 3 min, 2010.


       นวรัตน์ กาญจนินทุ: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:
          I would like to present The replacement of the imagination into things instead of "objects" that are in the room for a new sensation of these objects.

             ข้าพเจ้าต้องการนำเสนอ การแทนที่ของสิ่งต่างๆในจินตนาการ เข้าไปแทน "วัตถุ" ที่อยู่ในห้อง ที่เคยถูกจัดวางไว้ด้วยเหตุผลของประโยชน์ใช้สอยเป็นหลัก ทั้งความเชื่อมโยงและล้อเลียนทางด้าน ขนาด รูปทรง หน้าที่ และความน่าจะเป็น จนทำให้เกิดความรู้สึกใหม่ๆ จากพื้นที่และวัตถุเหล่านี้
 


44. Puttipong Pisikullapark (Thai) "Quartz" Pal, Color, Sound, 2 min, 2010.



      พุฒิพงศ์ พิสิฐกุลภาคย์: ชาวไทย

      Concept: แนวคิด:

        This work is due to the overlap of time and arrange. Activity Cause aesthetic.

        งานชิ้นนี้เกิดจากการจัดเรียงความทับซ้อนของเวลาและความเคลื่อนไหวทำให้เกิดความงาม


45. Maki Satake (Japanese) "Vestige of life" Pal, Color, Sound, 12 min, 2009.


     มากิ ซาตาคิ: ชาวญี่ปุ่น

      Concept: แนวคิด:       

       Satake’s grandparents left the house they had lived in for many years. It contains their memories as well as hers. There are the memories of her childhood, and many photographs taken by her father. Satake recorded the house everytime she visited and using these materials, she attempts to reconstruct her memory.

           ร่องรอยแห่งชีวิต
            บรรพบุรุษของ มากิ ซาตาคิ ออกจากบ้านที่พวกเขาอาศัยอยู่มานานหลายปี มันบรรจุความทรงจำต่างๆ ของพวกเขำเช่นเดียวกับที่เธอมี เธอมีความทรงจำในวัยเด็กของเธอ และรูปถ่ายที่ถ่ายโดยพ่อของเธอจำนวนมากโดย มากิ ซาตาคิ ได้ทำการบันทึกไว้ทุกครั้งที่เธอกลับไปเยี่ยมบ้าน และด้วยกานใช้วัสดุเหล่านี้เธอพยายามที่จะจัดการกับโครงสร้างความทรงจำของเธอขึ้นมาใหม่


46. Kate Pickering (English) "Untitled" Pal, Color, Sound, 3.50 min, 2009.



      เคทท์ พิเคอริงจ์: ชาวอังกฤษ

      Concept: แนวคิด:

      In “Untitled” (2009), Pickering begins by making a rather banal but wholly convincing declaration of intent. She starts by ascribing to art the usual capabilities: social, personal and political change, moving on to discuss the absence of separation between her practice and her personal life. After quickly lulling the viewer into absent-minded acquiescence, she surreptitiously segues into the somewhat risky though still fairly common territory of the vocational, referring to her practice as a calling. From there on, her motivational statement becomes imbued with a weighty sense of purpose. Despite maintaining the cool and confident tone with which she began, the content of her monologue becomes increasingly tainted with religious fervor as Pickering promises to reveal not just a truth, but The Truth through her work – a promise that is never quite fulfilled


         ในผลงาน "ไม่มีชื่อ" (2009) เคทท์ พิเคอริงจ์ เริ่มต้นด้วยถ้อยแถลงที่ค่อนข้างสามัญ แต่มีความเชื่อมั่นในของเจตนารมณ์ของเธอ โดยเริ่มต้นที่จะกล่าวโทษความสามารถทางศิลปะ: การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ส่วนบุคคล และการเมือง ที่จะนำไปหารือเกี่ยวกับกรณีที่ไม่มีการแยกแยะระหว่างการปฏิบัติ และชีวิตส่วนตัวของเธอ หลังจากที่ได้กล่อมผู้ชมให้อยู่ในภวังค์แล้วอย่างรวดเร็วแล้ว เธอแอบกระทำสิ่งที่ค่อนข้างมีความเสี่ยง ถึงแม้ว่าพรมแดนยังคงเป็นเรื่องสำมัญของวิชาชีพ หมายถึงการปฏิบัติของเธอขณะที่เรียกร้อง จากนั้นในคำสั่งที่สร้างแรงจูงใจของเธอ จะกลายเป็นสิ่งที่กระชากกับความรู้สึกที่หนักหน่วงของถ้อยประสงค์ ถึงแม้จะมีการรักษาโทนสีด้านหน้าและน้ำเสียงที่เยือกเย็น และดูมีความมั่นใจในเนื้อหาที่เธอเริ่มพูด การพูดคนเดียวของเธอจะกลายเป็นสิ่งรุนแรงขึ้นด้วยประเด็นทางศาสนา Kate Pickering สัญญาว่าจะเปิดเผยไม่เพียงแต่ความจริง แต่เป็นความจริงผ่านการทำงานของเธอ – สัญญานที่ไม่เคยเติมเต็ม


47. Pasut Kranrattanasuit (Thai) "Sensation"

 Pal, Color, Sound, 40 Sec, 2008.

      พศุตม์   กรรณรัตนสูตร: ชาวไทย

      website:
            www.rama9art.org/pasut

       concept: แนวคิด:

               Around us have been changed, unfamiliar and become part of hypnotize

              สิ่งรอบๆตัว ถูกแปรเปลี่ยนให้ไม่คุ้นชิน เป็นส่วนหนึ่งของการถูกสะกดจิต 


48. Jihye Park (English) "The Chopped Arm" Super 8 film, transfer with soundtrack on DVD, color, Sound, 8.33 min, 2008.


     จิฮเย พาร์ค: ชาวอังกฤษ

49. Panu Saeng-Xuto (Thai) “Cycle of Life 1-3” Pal, Color, Sound, 5 min, 2010.


     ภาณุ  แสง - ชูโต: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:

 Question of life shall not be how long our life will be but which way our life is going. No one can escape from the cycle of life. None happiness lasts forever, neither suffering. Our sorrow happens when we do not understand our life, when we cannot tolerate the coming change. If we deny this truth, we deny also the rule of nature. Suffering of sickness physically discomfort our everyday life, each one has to find their way to live with malady. The more severe the more mental disturb. By fear, lost, hopeless, we try to rely on technology to save our life but at last it extends our life just little more. Technology cannot preserve human life. Finally everything has to return to natural by fact that life as natural, we should, then, let natural cure the sickness. This is the balance of nature, according to the Cycle of Life.

หากทุกข์ที่เกิดขึ้นมานั้น มาจากความเจ็บป่วย เป็นภาวะที่กระทบกระเทือนต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ซึ่งแต่ละคนมีวิธีปรับตัวต่อการเจ็บป่วยที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความร้ายแรงของโรค ยิ่งป่วยเป็นโรคร้ายแรงคุกคามชีวิต หรือเรื้อรัง ย่อมมีผลต่อจิตใจและพฤติกรรมของผู้ป่วย ด้วยความหวาดกลัว และความรู้สึกสูญเสียสมรรถภาพ ตลอดจนความหมดหวัง และคนทั้งหลายยังแสวงหาวิธีการรักษาชีวิตของตนเอาไว้ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ ที่เราหรือมนุษย์ได้คิดค้นขึ้น แต่ก็รักษาทำได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น เมื่อสุดความสามารถของเครื่องมือแล้ว ทุกอย่างก็จะกลับไปสู่การปรับตัวของธรรมชาติ การเตรียมความพร้อมโดยการเรียนรู้จากชีวิต ความแก่ ความเจ็บ และความตาย ได้ชื่อว่าเป็นบทเรียนที่เราควรตระหนักรู้อยู่เสมอ เพราะสิ่งเหล่านี้จะคอยสอนเราทุกขณะของชีวิตที่กำลังหมุนไป ถือว่าเป็นการเตรียมตัวที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ที่จะตามมาอย่างรู้เท่าทันที่ชีวิตต้องพบเจอ ความเป็นจริงทำให้คนเราได้ฉุกคิด ในเมื่อชีวิตคือธรรมชาติ ก็น่าจะปล่อยให้ธรรมชาติเยียวยาขั้นสุดท้าย ความจริงธรรมชาติไม่เคยทำร้ายหรือทำลายใคร เพราะธรรมชาติคือชีวิตแท้ ทุกชีวิตจะอยู่ในความดูแลของธรรมชาติเท่าเทียมกัน เพราะกฎเกณฑ์แห่งชีวิต คือกฎเกณฑ์แห่งธรรมชาติ


50. Matthias Neuenhofer (German) "Para/Noise" Pal, Color, Sound, 19.23 min, 2010.


     มาทิอัส นอยอ์โฮเฟอร์: ชาวเยอรมัน

website:
           http://matthias.neuenhofer.de/

           เกิดในปี 1965 ใน Borken / Westfalen 
ศึกษาศิลปะดุสเซลด็อฟ, ABTL มอนสเตอร์ที่ ดุสเซลดศิลปะสถาบันการศึกษาที่มี ศ. น้ำมิถุนายน Paik นักศึกษาปริญญาโท สถาบันสื่อศิลปะโคโลญ, ประกาศนียบัตร  ตั้งแต่ปี 1994 การเรียนการสอนที่โรงเรียนศิลปะสื่อโคโลญ 2001 ศิลปะและวิทยาศาสตร์ผู้ช่วย / วิดีโอและการติดตั้ง เทป PUT 1988 -Runde1 989 RAS, GLB 1990 pob 1991 Suer 1993 Yla 1994 MIEL 1995 เบนซ์ 2000 


51. Pascal Fendrich & Bernd Härpfer (German) “Stargate” Pal, Color, Sound, 5 min, 2010.


     พาส์เคาร์ เฟอดอริค และ เบอรด์ ฮอพ์เฟอร์ ทั้งสองเป็นชาวเยอรมัน

     website:
              http://www.pascalfendrich.net/en/
              http://www.härpfer.net/

     Concept: แนวคิด:

     STARGATE
Several passengers’ feet are dangling from gondolas of the fairground ride 'Stargate'. They’re excited about an unusual roller coaster ride that will break down the bounds of the ego. The image increasingly fans out like a kaleidoscope. Like a cinematic mirror of the passengers’ feelings, the work always moves on the edge between the concrete and the abstract, only to finally disintegrate and vanish into nothingness.
          “Stargate” ปลายเท้าของผู้โดยสารเรือ กอนโดลาห้อยลงอย่างหลวม ๆ และแกว่งไปแกว่งมาในบริเวณงานแสดงนิทรรศการการล่องเรือ 'Stargate'. พวกเขาตื่นเต้นกับการขับขี่โรลเลอร์โคสเตอร์อันแปลกใหม่ที่จะสลายความมี อัตตาตัวตน ภาพที่ปรากฏจะคลี่คลายกระจายออกคล้ายที่เห็นในกล้องคาเลโดสโคป เสมือนเป็นภาพยนตร์ที่สะท้อนความรู้สึกของผู้โดยสาร ผลงานจะเคลื่อนบนปลายสุดระหว่างความจริงที่จับต้องได้และสิ่งนามธรรม เพื่อที่สุดท้ายจะแตกตัวและสลายไปสู่ความไม่มีอะไร 


52. Tintin Cooper (English-Thai) "After life" Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


     ทินทิน คูเพอร์: ชาวอังกฤษ-ไทย

Concept: แนวคิด:

         Afterlife' is an appropriation of found footage of popular war films. It subverts the usual violent and glamorising narrative of American films and imagines the 'afterlife' of the soldier instead.  The abstract and symmetrical leafy imagery further alludes to heavenly forms.
         ผลงาน “Afterlife” (ชีวิตหลังความตาย) เป็นการหยิบยืมภาพจากภาพยนตร์สงครามหลายๆ เรื่องที่ได้รับความนิยมมาใช้ใหม่ โดยผลงานชิ้นนี้ได้ทำลายภาพที่มีความรุนแรง ความน่าดึงดูดใจในเชิงพรรณนาของภาพยนตร์อเมริกัน สู่การจินตภาพถึง “ชีวิตหลังความตาย” ของทหารอเมริกัน         ภาพแบบนามธรรมลักษณะคล้ายใบไม้จัดวางอยู่ในองต์ประกอบแบบสมมาตร  หมายถึงรูปทรงที่เกี่ยวเนื่องกับสรวงสวรรค์
 


53. Gerald Zahn (Austrian) "Hairy Monsters" Pal, Color, Sound, 5 min, 2007.


      เกราร์ด ซาฮน์: ชาวออสเตรีย

website:
            http://www.geraldzahn.tk/

Concept: แนวคิด:

     Hairy Monsters - A witty homage to the porn films of the 60s and 70s, taking place in the worlds where hair removal is not an issue. The magnified, gently swaying landscapes of pubic hair are tranformed by a kaleidoscopic lens into bizzare, threatening creatures.

    เจ้าปีศาจขน ความหลักแหลมในการทำงานที่ใช้ภาพยนต์ทางเพศช่วง ทศวรรษที่ 60-70 นั้น เขาได้ใช้คุณลักษณะเคลื่อนไหวของขนในที่ลับนี้อย่างไม่จงใจ การขยาย หรือการที่ขนสบัดผ่านโดยใช้กล้องขยายภาพชนิดพิเศษทำให้ถ่ายทอดความประหลาดของสิ่งที่เกิดขึ้น 


54. Komson Nookiew (Thai) "Lives but speed" Pal, Color, Sound, 3 min, 2011.



     คมสัน หนูเขียว: ชาวไทย

     website:
                   www.knookiew.blogspot.com

     Concept: แนวคิด:

       Komson Nookiew’s video installations display the intersections of urban life and technology. Technological advancements since Edison’s invention of an electrical lighting system have developed into concert halls and movie theatres showcasing multimedia spectacles for its audiences. Through the accessibility of video camcorders, mobile phones, computers with cameras and the Internet, technology has become a popular household item. Today anyone can create some kind of multi media show or broadcasting event in his own private home theatre. Nookiew explores the technological influences in our everyday living environment and discloses the relational vagueness that constitutes the changes in our perception. Termed “hybridization concept” the installations make us aware of an undeniable coexistence with technology in our times.
             The “hybridization concept” has informed much of Nookiew’s work since he first began to explore the theme while living in Vienna, Austria, from 1995 to 2003. In order to bridge the cultural and linguistic gaps that he experienced, he used his art making as a tool of communication combining social interaction and narration with time-based technology. The concept led to the annual ‘Experimental Video Art Exhibition Thai-European Friendship project’, which Nookiew inaugurated in Bangkok in 2004. And all others works that concerned to hybridity idea in which he is developing other kind of art works in several ways.

           คมสัน หนูเขียว ได้แสดงผลงานแนววีดีโอศิลปจัดวาง ผ่านการมองของสังคมเมือง และเทคโนโลยี แม้นว่าเทคโนโลยีเหล่านั้นจะถูกทำ และคิดค้นตั้งแต่ อดิสันเป็นคนคิดเรื่องระบบหลอดไฟขึ้นมาครั้งแรกในโลก และเทคโนโลยีด้านแสงเหล่านี้ได้ถูกใช้ในสถานที่ต่างๆหลังจากนั้น ไม่ว่าจะเป็นสถานที่แสดงงานคอนเสิร์ต หรือในโรงภาพยนต์สมัยใหม่ ที่ซึ่งได้เผยให้เห็นลำดับขั้นตอนการพัฒนาของเทคโนโลยีแนวนี้มาช้านานสู่เราๆ ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นสิ่งของต่างๆใกล้ๆตัว อาทิ กล้องฉายวีดีโอ โทรศัพท์พกพา คอมพิวเตอร์ที่มีกล้องถ่ายรูป อินเตอร์เนตในรูปแบบต่างๆ เทคโนโลยีเหล่านี้ต่างก็อยู่รอบๆตัวเราโดยมิอาจปฏิเสธได้
        ทุกวันนี้ทุกคนสามารถสร้างสรรค์ผลงานจากอุปกรณ์เหล่านี้ได้อย่างง่ายดาย หรือแม้นแต่จะส่งผ่านเข้าไปเพื่อกระจายสื่อของตนเองจากการทำงานที่บ้านได้อย่างง่ายดายเช่นกัน และสำหรับศิลปินคมสัน ก็เฉกเช่นเราๆ ที่ได้ค้นพบความน่าฉงนของแสงอันมาจากอิทธิพลจากชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นแสงจากหลอดไฟในบ้าน หรือแม้นแต่แสงอันเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่กระทบการรับรู้กับชีวิตของผู้คนอย่างเราๆ แนวคิดของผลงานเรื่องชาติพันธ์ุผสม (Hybridization Concept) ได้เป็นสิ่งทีทำให้พวกเราได้ตระหนัก และปฏิเสธไม่ได้ อันเป็นผลพวงของเทคโนโลยีที่ผ่านลำดับขั้นตอน และกาลเวลามาช้านาน โดยแนวคิดเรื่องชาติพันธ์ุผสม (Hybridization Concept) เป็นตัวบอกกล่าวตลอดผลงานของ คมสัน ตั้งแต่ที่เขาได้ไปศึกษาต่อ ณ. ประเทศตะวันตก เช่น ประเทศออสเตรีย กรุงเวียนนา ในปี 1995-2003 ซึ่งได้พยายามอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเชื่อมโยงวัฒนธรรม ภาษา และประสบการณ์ต่างๆที่ได้รับจากสองสถานที่ โดยเขาได้ใช้สื่อทางศิลปะในการอธิบายในทัศนะเหล่านี้ ผ่านผลงานต่างๆ โดยอาศัยเทคโนโลยีของเวลาในตัวของมันเองเป็นตัวบอกกล่าว หนึ่งในนั้นเป็นโครงการที่เขาได้ริเริ่มทำเป็นประจำทุกปีหลังจากรับหน้าที่เป็นผู้สอน คือโครงการ Experimental Video Art Exhibition Thai-European Friendship Project ด้วยที่ คมสัน ได้อธิบายแนวคิดของเขาผ่านแนวคิดชาติพันธุ์ และยังได้ผลิตผลงานในแนวคิดนี้ออกมาในแนวทางต่างๆอีกมากมาย


55. Karin Fissthaler (Austrian) "tesafilm” Pal, Color, Sound, 4.25 min, 2010.



      คาร์ริน ฟิชซทาเร่อร์: ชาวออสเตรีย

      Concept: แนวคิด:

         Tesafilm is an awareness raising exercise. Therefor I have been pasting over my face into a state of unrecognisable condition. My wrapped in wrinkly skin reminds to packed meat from the supermarket. During the performance i peel of the stripes from a state of emergency of my own making back to reality.

         เทซ่า ฟิลม์นั้น เป็นการสร้างผลแห่งความตระหนัก จากนั้นมันมักจะพัดผ่านหน้าของฉันในสภาวะที่จดจำไม่ได้ เหมือนกับเนื้อสัตว์ที่ถูกรัดผ่านผิวหน้าจากแหล่งขายตามร้านของชำของฉันก็เช่นกัน ระหว่างการแสดงผลงานฉันพยายามลอกเทปกาวนี้ออกด้วยแรง เพื่อตัวฉันเองจะได้กลับไปสู่สภาวะแห่งความเป็นจริงของมัน


56. Yuthachai Tangwongcharoen (Thai) "Silent, Along, Life" Pal, Color, Sound, 2.5 min, 2011.



      ยุทธชัย ตั้งวงษ์เจริญ: ชาวไทย

     Website: 
             

     http://cargocollective.com/redkolinsky
                     
     http: //redkolinsky.tumblr.com/
  
     http://redkolinsky.blogspot.com/

        
     Concept: แนวคิด:

     Silent Die Flower Conceptual
                To create a valuable and powerful piece of thing, its structure should be composed of many elements together, as I would like to call that single element as “Modular”. My works are inspired by the idea that every surrounding things around us, for example, plants, animals or things are ordinary come from the “Primary form” that compose of many small “Modular” together in amazing way. I believe that god creates the world just from the “Primary form”, from triangles, squares or circles, and leaves them for angles and humans to create the world. As well as my objective that want to embrace my creativity and continue working in dynamic way.
           Silent Die Flower Born From Around you. Something We Call Product From Natural, Furniture, Chair and everything. I have Perceptual about this. Long time Before This item is “A Farm”, this item is “Umbrella”, this item is “Food”, this item is “Accessories”, and this item is “Life” Before,
          I think is every product process From Nature go to die. He has a Feeling or not, I want the push about feeling of perception to you. When the Flower death. The soul of flower want shows something serves new perception to you

        แนวคิดนี้เมื่อครั้งที่ตกผลึกเกิดจาก แนวคิดที่เป็นต้นแบบของข้าพเจ้าที่ข้าพเจ้าสนใจเรื่อง Primary Form ทางธรรมชาติ ซึ่งเมื่อดูกันในเชิงลึกแล้ว ทุกอย่างที่อยู่ในธรรมชาติล้วนรังสรรค์มากจาก สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และวงกลม เมื่อข้าพเจ้ามองสิ่งของที่อยู่รอบตัว ภาพในหัวและความคิดของข้าพเจ้า จะ ทำลาย Form เหล่านั้นจนหมดและ ประกอบขึ้นมาใหม่ในรูปแบบ ที่เรียกว่า Deconstruction ในเชิงนามธรรมและ รูปธรรม สิ่งต่างๆเหล่านี้จึงเป็นแนวคิด ของข้าพเจ้าที่ ถูกนำมา Spin มาเป็นงาน Series ต่างๆ ซึ่ง Silent Die Flower ก็เป็นหนึ่งใน Series จาก Main idea ตัวนี้
         Silent Die Flower เกิดจากมองสิ่งของอยู่รอบตัวที่เป็นผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติที่ถูกแปรรูป ให้เป็นของใช้ในชีวิตประจำวันแล้ว เกิด Perception ที่ว่าของเหล่านั้นล้วนเป็นของมีชีวิต มาก่อน เคยเป็นต้นไม้ใบหญ้า เคยเป็น ทุ่งนา เคยเป็น ร่มเงาให้เด็กเล่นใต้ต้นไม้ เคยเป็นอาหารให้สัตว์น้อยใหญ่ เคยเป็นร่มกันฝนสำหรับเด็กๆ แต่ทุกวันนี้ สิ่งเหล่านี้ถูกแปรรูป จนกลายเป็นแค่ ที่นั่ง อุปกรณ์ในครัว เครื่องใช้สำนักงาน ข้าพเจ้าดูแล้วรู้สึกว่าสิ่งเหล่านั้น ล้วนดูไร้ชีวิต ผิดที่ผิดทาง ถ้ามันอยากพูดได้ มันอยากจะพูดอะไร ถ้ามันแสดงอารมณ์ได้ มันอยากจะสื่ออะไร Silent Die Flower  คือการที่ข้าพเจ้า ทำสิ่งที่ไร้ชีวิตไปแล้วให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง ในรูปแบบ ศิลปะ เชิงนามธรรม โดยใส่อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ประหนึ่งข้าพเจ้าคิดว่า ข้าพเจ้าเป็นร่มไม้ใหญ่ ข้าพเจ้าเป็น ใบหญ้า ข้าพเจ้าเป็นทุ่งนา ข้าพเจ้าเป็นอาหาร เมื่อตายไปแล้ว ข้าพเจ้าต้องการบอกอะไร รู้สึกอะไร อย่างไง


57. Norbert Pfaffenbichler (Austrian) "Conference" Pal, Color, Sound, 8 min, 2011.


       นอร์เบอร์ท พาร์เฟนท์บิสชเร่อร์: ชาวออสเตรีย

website:
           http://www.filmfestivalrotterdam.com/en/films/conference-notes-on-film-05/

              born 1967, Austria and has been involved in the emergence of the Austrian abstract cinema in the mid 1990s, when a generation of artists has begun to produce radical computer and video works, combining electronic music and abstract media art. Innovative filmmaker himself alongside other now-renowned artists like Tina Frank, Lotte Schreiber, Michaela Grill,  Jürgen Moritz, SKOT, Lia, Michaela Schwentner and Billy Roisz, he also curated the major group show “Abstraction Now” at the Künstlerhaus in Vienna in 2003 presenting computer-generated “sound visions” works.

             เกิดในประเทศออสเตรียปี 1967 และได้เข้าร่วมขบวนกับการกำเนิดภาพยนต์แอบเตร็ค ในออสเตรียในปี 1990 ในช่วงน้ันมีศิลปินออสเตรียจำนวนหนึ่งได้ใช้การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ และผลงานทางสื่อวีดีโอ ซึ่งผสมผสานกับดนตรีอีเล็กโทรนิค และมีเดียแอบแตร็ค เขาเป็นผู้ที่ทำงานริเริ่มกับการหาหนทางใหม่ๆเสมอ ซึ่งมักทำงานกับศิลปินรุ่นใหม่ อาทิ Tina Frank, Lotte Schreiber, Michaela Grill,  Jürgen Moritz, SKOT, Lia, Michaela Schwentner and Billy Roisz, และเขาเคยเป็นภัณฑารักษ์ให้กับกลุ่ม “Abstraction Now” ในพิพิธภัณฑ์ Künstlerhaus ในกรุงเวียนนา ปี 2003 ปัจจุบันเขามักทำงานโดยใช้ computer เป็นเครื่องมือคำนวน "Sound Vision" ในผลงานของเขา
 


58. Chayanis Wongthongde (Thai) "Mystery" Pal, Color, Sound, 3 min, 2011.


      ชญานิษฐ์ วงศ์ทองดี: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:
       The sadness was around our thoughts, little pictures always reflecting us, everywhere, abandoned buildings like places in our deepest minds, from the isolated city itself, spaces in society representing variations of time, their existence or absence blurred to each other and impeding our ability to deny the space around us.
       ความเศร้าจากสิ่งที่ปรากฏ ต่างหล่อหลอม เชื่อมโยงกับความคิด แม้ว่าภาพที่ปรากฏจะเกิดขึ้นจากสิ่งเล็กน้อยที่อาจมองข้ามไปในชีวิต แต่ในทางกลับกันได้สะท้อนแง่มุมที่ซ่อนอยู่ โครงสร้าง อาคารร้าง สะท้อนให้เห็นถึงความลุ่มลึกที่ซ่อนอยู่ภายใน ผ่านการมองเห็น ความโดดเดี่ยวที่ซ่อนอยู่ในบริบทของสังคมเมือง ช่องว่างระหว่างพื้นที่กับคนในสังคม อันเกิดจากการก่อร่างของความรู้สึกและการเปลี่ยนผ่านของเวลา สภาวะของการมีอยู่ หรือ ไม่มีอยู่ ความคลุมเครือที่ถูกซ้อนทับกัน ไม่อาจปฏิเสธถึงการมีอยู่จริงของพื้นที่ที่รายล้อมตัวเรา. 


59. Jun Yang (Austrian) “Revolutions” Pal, Color, Sound, 10 min, 2012.


      จุงน์ ยังจ: ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด:
           Jun Yang’s work reflects his background as an immigrant, an experience shared in various ways by millions of people in the age of globalisation. Born in China, but migrating to Europe as a child, the artist went through various stages of ‘naturalising’ himself, a process in which he discovered not simply what it is to be an immigrant (legal or illegal), but also how one is acculturated into a ‘European citizen’, and what it costs to be a European (born or naturalised), or in fact to be a social being in general. His work thus addresses specific issues of otherness, but usually from a much wider angle that bears on everyone’s life. Camoufalge – Talk Like Them, Look Like Them, for example, is a documentary film starting from a fictive interview with an illegal immigrant and ending with a deep analysis fo citizenship which moves from fashion, to speech acts, up to the politics of terror. Drawing on his own experience of the ‘right’ things to say and to do, and the hope of security, safety and prosperity which brings immigrants to a new land, Yang plays with his name and appearance, and explores ideas of landscape, home, architecture and social structure – mostly with quirk humour and intimacy.” – Manray Hsu; in: Liverpool Biennial, 2006, p. 110

                จุงน์ ยังจ เกิดในจังหวัด Zhejiang ประเทศจีน และอพยพไปยุโรปกับพ่อแม่ของเขำเมื่ออำยุ 4 ขวบ และได้รับกำรเลี้ยงดูในเวียนนำ, ออสเตรีย ทำงำนจำกที่ปารีสซินโดรม งานของ Jun Yang สะท้อนให้เห็นถึงภูมิหลังของเขำเป็นผู้อพยพ ประสบกำรณ์ที่ใช้ร่วมกันในรูปแบบต่ำงๆโดยผู้คนนับล้ำนในยุคของโลกำภิวัตน์ เขำเกิดในประเทศจีนแต่ย้ำยไปยังยุโรปตั้งแต่เด็ก Jun Yang เรียนรู้ผ่ำนขั้นตอนต่ำงๆ ในกำรเปลี่ยนสัญชำติของตัวเอง ในกระบวนกำรที่เขำค้นพบไม่เพียงแต่จะเป็นผู้อพยพ (ถูกหรือผิดกฎหมำย) แต่ยังเป็นวิธีกำรหนึ่งในกำรร่วมวัฒนธรรมเป็นพลเมืองยุโรป และบทเรียนที่เขาต้องจ่ายในยุโรป (เกิดหรือสัญชำติ) หรือในควำมเป็นจริงที่อยู่ในสังคมทั่วไป ผลงำนของเขำจึงอยู่ในประเด็นที่เฉพำะเจำะจงในควำมแตกต่ำง แต่มักจะมำจำกมุมที่กว้างและที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตของทุกคน “แฝงตัว” – พูดคุยเช่นเดียวกับพวกเขำ มีลักษณะเหมือนพวกเขำ เช่นเป็นภำพยนตร์สำรคดีที่เริ่มต้นจำกกำรให้สัมภำษณ์ นวนิยำยที่มีผู้อพยพผิดกฎหมำย และลงท้ำยด้วยกำรวิเคราะเชิงลึกในแฟชั่นย้ำยสัญชำติ กำรกระทำกำรพูดถึงกำรเมืองของควำมหวำดกลัว กำรวำดภำพบนประสบกำรณ์ของตัวเองของสิ่งที่ “ถูกต้อง” ที่จะพูดและทำ และควำมหวังในกำรรักษำควำมปลอดภัย ควำมปลอดภัยและควำมเจริญรุ่งเรืองที่นำผู้อพยพไปยังดินแดนใหม่ ในผลงานของ Jun Yang เขาเล่นกับชื่อ และรูปพรรณสัณฐานของเขา และสำรวจความคิดของภูมิทัศน์ที่อยู่อาศัย สถาปัตยกรรมและโครงสร้างทางสังคม - ส่วนใหญ่ด้วยอารมณ์ขันและความคิดอันแหลมคม – Manray Hsu; in: Liverpool Biennial, 2006, p. 110
 


60. Gertrude Moser-Wagner (Austrian) "Bird reply" Pal, Color, Sound, 3 min, 2012.


        เกร์ทรูเดอ์ โมเซอ์-เวกจเนอร์: ชาวออสเตรีย

website:
            http://members.chello.at/gertrude.moser-wagner/m_w/pdf/kurzbio_e.pdf
 


61. Dariusz Kowalski (Finnish) "Luukkaankangas-updated, revisited" Pal, Color, Sound, 8 min, 2005.


      ดาร์ริอุสซ โควาล์ซขี: ชาวฟินแลนด์

Concept: แนวคิด:
                In Finnland, webcams of the Finnish Road Administration record permanently pictures of all important roads . These images are then placed in the internet in an interval of fifteen to thirty minutes. Before their departure, the Finns thus first can read back their streets as an image to decide whether they use them or not. Crucial is perhaps that the cameras record the images automatically without cameraman, they thus are mere function-images without any aesthetical reference. The systematic blank on the part of the production faces a highly individualized reception. 

          Dariusz Kowalski (Krzeczek) – himself user of these images – designs a singular cinematic dramaturgy out of them. The serial montage of the individual images, their disfunctionalizing and gathering lets these become readable as completely different images. Through the study the streets experience a peculiar animation, inspiration. They are perceived as organisms that are changing with the play of ligths and shades, with the weather conditions and seasons. The streets pulsate, vibrate, mutate according to seemingly mysterious laws. They impress, since often no cars are seen, as a formation with self-referential character. 

            Positioned in elevated locations, the recordings fabricate a distanced, controlled vizualization of the street blocks. Foucault says: “The more anonymous and functional the power becomes, the more individualized become those who are subjected to this power”. The more intense the Road Administration´s power controls the streets by means of webcams, the more these appear as individuals, as unique organisms, claiming each on its own a particular aesthetical way of existance. Perhaps, the country roads and highways are given proper names, in order to do justice to their individualization.”

        
        ในฟินแลนด์ กล้องเว็บแคมของการบริหารจัดการถนนหนทางของฟินแลนด์บันทึกภาพถาวรบนถนนสำคัญ ทุกสาย ภาพเหล่านี้จะปรากฏบนอินเตอร์เน็ตในเวลา 15-30 นาที ก่อนการออกเดินทาง ชาวฟินแลนด์จะดูภาพถนนก่อนเพื่อตัดสินใจว่าจะใช้เส้นทางนั้น ๆ หรือไม่ ที่สำคัญคือบางทีกล้องบันทึกภาพโดยอัตโนมัติไม่มีช่างกล้อง ทั้งพวกเขายังจัดการกับภาพโดยปราศจากความสุนทรียะ The systematic blank on the part of the production faces a highly individualized reception. (ประโยคนี้ปรางแปลไม่ได้ค่ะจาร) Dariusz Kowalski (Krzeczek) – เขาใช้รูปภาพเหล่านี้ - ออกแบบทฤษฎีภาพยนตร์ที่มีลักษณะเป็นเอกเทศ การซ้อนภาพอย่างเป็นลำดับของแต่ละภาพ การปราศจากหน้าที่หรือความหมายที่ชัดเจน และการรวบรวมทำให้ภาพเหล่านี้ตีความเสมือนเป็นภาพอื่นที่แตกต่างอย่างสิ้น เชิง (ตรงนี้ปรางงง จารลองแปลดูนะคะ) จากการศึกษาประสบการณ์ภาพเคลื่อนไหวถนนหนทางที่ผิดไปจากธรรมดา เกิดเป็นแรงบันดาลใจ  พวกเขารับรู้ระบบซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยการเล่นกับแสงและเงา ด้วยเงื่อนไขของภูมิอากาศและฤดูกาล ถนนสายต่าง ๆ เต้นเป็นจังหวะ สั่นและเปลี่ยนแปลงไปอย่างน่าประหลาด พวกเขาประทับใจ  เพราะไม่มีรถราปรากฏ เป็นการสร้างจากการอ้างอิงลักษณะเฉพาะของตนเอง การจัดวางตำแน่งในระดับสูง บันทึกการสร้างระยะทาง ควบคุมการมองเห็นของช่วงอาคาร Foucault กล่าวว่า “ยิ่งไม่ปรากฏชื่อและหน้าที่เป็นที่มาของอำนาจ ปัจเจกชนยิ่งกลายเป็นผู้มีอำนาจ” ยิ่งการบริหารการใช้รถใช้ถนนควบคุมด้วยกล้องเว็บแคมอย่างเอาจริงเอาจัง ก็ยิ่งปรากฏเป็นเรื่องของแต่ละบุคคล เป็นระบบที่มีลักษณะเฉพาะ ต่างก็มีแนวทางสุนทรียะแห่งการดำรงอยู่ บางทีถนนและทางหลวงของประเทศก็ถูกตั้งชื่ออย่างเหมาะสมเพื่อความเหมาะสม เฉพาะรายบุคคลนั้น ๆ 


62. Tina Frank (Austrian) "Vergence" Pal, Color, Sound, 7 min, 2010.


       ทีน่า เฟงท์ค: ชาวออสเตรีย

website:
              http://www.tinafrank.net/tina-frank/

Concept: แนวคิด:

               The 6,5-minute long video focuses on the threshold of spatial perception. Like a chromographic pendulum yellow-black patterns contract, unfold and overlap. They evoke rapid speed mementos of Brion Gysins Dreamachines as well as Tony Conrads The Flicker or of Gestalt Theory from the early 20th century. After an induction period of some minutes the viewer can no longer tell if s/he sees afterimages from the color space or if these psychedelic visions are part of the video sequence. The experience is intensified by the four-channel-soundtrack by Florian Hecker. Dynamic pulsating rhythms bring narrative cartesian coordinates from front, back, left and right into a permanent oscillation. Binaural stereophonic and quadrophonic arrangements add up to an acoustic whole which consolidates a timebased déjà vu together with an acoustic déjà entendu. Primary sensory cross-modalities: VISION, AUDIO
http://digitalsynesthesia.net/wp/artist_project/vergence/
              งานชิ้นนี้ยาว 6.5 นาทีได้ให้ความสำคัญกับจุดเริ่มต้นของการรับรู้ในที่ว่าง เหมือนลูกตุ้มโครมาโทกราฟีลวดลายเหลือง-ดำ คลี่ออกและซ้อนทับกันซึ่งปลุกอดีตของเครื่องจักรความฝัน (Dreamachines) ของ Brion Gysins และ The Flicker หรือทฤษฎี Gestalt จากตอนต้นศตวรรษที่ 20 ของโทนี่ คอนราดให้ปรากฏขึ้นอย่างรวดเร็ว ภายหลังช่วงเวลาไม่กี่นาทีของการเหนี่ยวนำสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ผู้ชมจะไม่สามารถบอกได้ว่า เขาหรือเธอเห็นภาพหลังจากพื้นที่ของสีหรือการมองแบบหลอนประสาทเหล่านี้เป็น ส่วนหนึ่งของลำดับเหตุการณ์ในวีดีโอ ประสบการณ์รุนแรงขึ้นด้วย เสียงในฟิล์ม 4 ช่อง (four-channel-soundtrack) โดย Florian Hecker พลังงานที่เต้นเป็นจังหวะบรรยายพิกัดคาร์ทีเซียนจากหน้า หลัง ซ้ายและขวา มาสู่การแกว่งไปมาอย่างถาวร การจัดการระบบแยกเสียงแบบมีมิติและการสร้างเสียง 4 แถบถูกเพิ่มเป็นการควบคุมเสียงทั้งหมดซึ่งรวมเข้ากับฐานเวลาเดจาวูและการ ควบคุมเสียง déjà entendu


63. Kanakorn Kachacheeva (Thai) “Bangkok Vomit" Pal, Color, Sound, 3 min, 2012.


 คณากร คชาชีวะ: ชาวไทย
 

Concept: แนวคิด:
                Bangkok, capital of Thailand and its people against the structure of the system quickly.
      
       กรุงเทพเมืองหลวงของประเทศไทยและประชาชนที่ปะทะกับโครงสร้างในระบบต่างๆอย่างรวดเร็ว


64. Nonglak Trithanachot (Thai) “The Switch” Pal, Color, Sound, 1.37 min, 2013.


      นงลักษณ์ ตรีธนาโชติ: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:
                I want to present problems of children   who are games addicted. They tend to absorb  aggressive  behaviors  from aggressive games. They cannot  separate games from reality. This  becomes  social problems  often be seen on newspaper.  I  want  children  to be aware and  they should have a limitation to play games.
             ฉันต้องการแสดงปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชนที่ถูกมอมเมาด้วยเกมต่าง ๆ พวกเขามีความโน้มเอียงที่จะซึมซับพฤติกรรมความก้าวร้าวจากเกมที่รุนแรงเหล่า นั้น พวกเขาไม่สามารถแบ่งแยกเกมออกจากความเป็นจริงซึ่งได้กลายเป็นปัญหาต่าง ๆ ของสังคมที่พบเห็นบ่อยครั้งตามหน้าหนังสือพิมพ์ ฉันต้องการให้เยาวชนได้ตระหนักรู้และควรจำกัดเวลาในการเล่นเกมเหล่านั้น


65. Peter Beyer (German) “Atropa” Pal, B&W, Sound,
29 min.


      ปีเตอร์ เบเยอร์: ชาวเยอรมัน

Concept: แนวคิด:

                Traditional shamans won’t be found in Latin America and Africa alone. Documenting moods rather than facts, Atropa takes us into the world of shamans practising in Europe. While the film opens with footage of a ritual by a forest stream, this is merely the start of a mesmeric series of nature images. Aided by ambient music, the film’s abstract and magical shots encourage the viewer towards a heightened perception of what unfolds on the screen. The director points out contemporary Western culture’s neglect of the mechanisms of nature, but he also appreciates the peaceful rhythm of time as the bearer of tranquillity in a modern civilised world.
http://www.kviff.com/en/films/film-archive-detail/20134064-atropa/

Peter Beyer (German) “Atropa” Pal, B&W, Sound, 29 min. ปีเตอร์ เบเยอร์ ชาวเยอรมัน Atropa Belladonna (พืชตระกูล Deadly Nightshade) เป็นส่วนผสมสำคัญในขี้ผึ้งซึ่งช่วยในการทำให้แม่มดสามารถเหาะหรือบินได้ ภาพยนตร์ Atropa นำพาเราไปสู่โลกแห่งความเชื่อในเกี่ยวกับเรื่องแม่มดหรือเวทมนตร์ที่ถูกลืม ในยุโรปและใจกลางพิธีบูชาในแม่น้ำที่ผูกพันอยู่กับผืนป่า ด้วยพิธีกรรมของเธอ หมอผีเร่งความเร็วของธาตุธรรมชาติรอบตัวเธอเพื่อก่อให้เกิดพลังงานใหม่และ การประสานกลมกลืน เช่นนี้ พลังแห่งสภาวะในภวังค์แห่งภาพยนตร์ Atropa เร่งปฏิกิริยาสู่จิตใต้สำนึกในระดับที่สูงขึ้น https://www.filmfestivalrotterdam.com/professionals/films/atropa/ ตำนานภาพยนตร์เกี่ยวกับแม่มดหมอผีจะไม่พบในประเทศแถบละตินอเมริกาและแอฟริกา สารคดีจะเป็นไปในทางอารมณ์มากกว่าข้อมูลความจริง Atropa นำเราเข้าสู่แบบอย่างโลกพิธีกรรมเวทมนตร์ในยุโรป ภาพยนตร์เปิดตัวด้วยฉากพิธีบูชาข้างลำธารในป่าซึ่งเป็นเพียงการเริ่มต้นชุด ของภาพธรรมชาติแห่งการสะกดให้ตราตรึง และด้วยเพลงช่วยสร้างบรรยากาศ แนวคิดของภาพยนตร์และภาพอันน่าอัศจรรย์กระตุ้นการรับรู้ของผู้ชมให้เพิ่ม ขึ้นถึงสิ่งที่ปรากฏบนฉาก ผู้กำกับชี้ให้เห็นถึงการเพิกเฉยต่อกลไกธรรมชาติของวัฒนธรรมตะวันตกร่วมสมัย แต่เขาก็ชื่นชมจังหวะอันสงบของกาลเวลาเสมือนเป็นผู้ดูแลความสงบร่มเย็นในโลก อารยธรรมสมัยใหม่ http://www.kviff.com/en/films/film-archive-detail/20134064-atropa/


66. Evamaria Schaller (Austrian) "Die Wilderin vom Montafon" Pal, Color, Sound, 21.24 min, 2011.


      เอว่ามาเรีย ชาลคเล่อร์ ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด: 

                In my performances, films, interventions and installations I deal with social environment and liminal spaces. I interact with the site-specific conditions, use my own aesthetics of gestures to examine, reflect and intervene with the site-specific conventions which govern behaviour and relationships. I always have to adjust my own borders Even failure, violence or exclusion can be transformed into a sensible gesture and metamorphoses.
      The Austrian mountains, legend of itself. Power and Wild. Dangerous and Beautiful. She, the poacher woman, is part of this rich nature. She IS the nature. And she has the power to kill…. She - Myself. A free interpretation of the real story of the poacher woman of the Montafon.


   ในงานศิลปการแสดง, ภาพยนต์ หรือศิลปะที่หลากหลาย และงานศิลปะจัดวาง ฉันมักทำงานที่เกี่ยวข้องกับ สภาพแวดล้อมทางสังคม และพื้นที่ๆได้จำกัดไว้ โดยฉันมักแสดงผลงานกับสภาพแวดล้อมที่ได้วางแผนการอย่างจงใจไว้แล้ว ซึ่งใช้สุนทรีย์ศาสตร์ที่ผ่านการพิจารณาวิเคราะห์ กับผลต่างๆ ไม่ว่าความบังเอิญ กับสภาพแวดล้อมที่เราสามารถเข้าไปควบคุม และมีความสัมพันธ์ด้วยโดยมักจะเข้าไปปรับเปลื่ยน และจัดการเรื่องต่างๆ แม้นว่าอาจจะไม่สำเร็จก็ตาม การกระทำอย่างรุนแรง หรือแยกตัวออกไป สามารถแปรเปลื่ยนไปสู่อริยบทแห่งเหตุผล และการเปลื่ยนรูปร่างลักษณะได้


67. Lena Ditte Nissen (German/Danish) "Korona" Pal, Color, Sound, 10.20 min, 2011.


      ลีน่า ดิทเทอ นิสเซน: ชาวเยอรมัน-เดนมาร์ก

Websites:
               www.lenadittenissen.com
               www.bergernissen.com

Concept: แนวคิด:
                KORONA poetically describes the subjective physical and psychological experience of a recurring subversion of the self-experience of a young woman. The whispered narration from the perspective of the speaker, and the reduced use of minimal black and white images leads the viewer further and further into the inner of a mythical state of being, that is neither an end nor a solution.

        โคโรนา พรรณาดั่งบทกวีถึงประสบการณ์ทางจิตใจและร่างกายที่เป็นอัตวิสัยของการเกิด ขึ้นอีกของทำลายประสบการณ์ส่วนตัวของหญิงสาว การเล่าเรื่องเป็นไปด้วยการกระซิบจากมุมมองของผู้พูด และการลดการใช้ภาพขาวและดำให้น้อยที่สุดนำพาผู้ชมไปไกลและไกลไปยังภายในของ การเป็นอยู่อย่างตำนาน ซึ่งไม่ได้เป็นทั้งจุดจบหรือคำตอบ


68. Geraid Zahn (Austrian) "Just 5 more minutes" Pal, Color, Sound, 5.23 min,  2010.


      เกราด์ ซาฮน์: ชาวออสเตรีย

website:
            http://www.geraldzahn.tk/

Concept: แนวคิด:
               Just 5 more minutes.
As a study of time in cinematic perception, Viennese media artist Gerald Zahn visualizes 5 minutes by filming a person holding his breath for the duration of the film. In contrast with the casual disregard for mere 5 minutes in the film title, the film fills this period with significance. The emotional turmoils on the actor's face as he fights through every second on the stop-watch, make 5 minutes a cinematic era of tension, impatience, doubt and expectation.
                 ขออีก 5 นาที
ในฐานะที่ได้เรียนเรื่องเวลาในฐานะการรับรู้เชิงภาพยนตร์ ศิลปินมีเดียจากเวียนา Gerald Zahn จินตภาพเห็นเวลา 5 นาทีโดยการบันทึกภาพบุคคลกลั้นหายใจในช่วงระยะเวลาของภาพยนตร์เรื่องนี้    ในทางตรงกันข้ามกับความไม่นำพาต่อเวลาเพียง 5 นาทีที่เป็นชื่อของภาพยนตร์  ตัวภาพยนตร์เองกลับเน้นช่วงเวลานี้อย่างมีนัยยะสำคัญ   ความวุ่นวายทางอารมณ์บนใบหน้าของนักแสดงในขณะที่เขากำลังต่อสู้ผ่านทุกวินาทีบนนาฬิกาจับเวลา  ทำให้ 5 นาทีในช่วงเวลาของภาพยนตร์ เป็นความตึงเครียด ความอดทน ความสงสัยและความคาดหวัง


69. Boris Imscher (German) “Play Ground (Hurt)” Pal, Color, Sound, 4.30 min, 2005.

  
โบริส อิมซสเช่อ: ชาวเยอรมัน

website:
           https://sites.google.com/site borisirmscherplaygrounds/

Concept: แนวคิด:
                The intended as a weapon in a Comupterspiel crowbar I use as a writing tool. During a game sequence I Meissle in virtual space letters on a wall. My character is bombarded by computer-controlled opponents in the background so produced on the wall next to the font of bullet holes and blood splatter

           ชะแลงที่ถูกเขียนขึ้นมาโดยโปรแกมคอมพิวเตอร์ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการเขียนตัวอักษร   ในช่วงระหว่างลำดับต่างๆ ของเกมส์ ฉันกระทุ้งชะแลงลงไปในพื้นที่กำแพงที่ถูกสร้างขึ้นในรูป แบเกมส์ให้เป็นตัวอักษร ตัวละครของฉันถูกจู่โจมโดยผู้ควบคุมคอมพิวเตอร์ฝ่ายตรงข้าม  ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นบนกำแพงถัดจากร่องรอยรูกระสุนจึงเป็น  เลือดสาดกระเซ็น พื้นที่บล็อกถูกสร้างขึ้นอย่างช้าๆ

70. LIA (Austrian) “Transition 89” Pal, Color, Sound,  5 min, 2011.


 ลีอา: ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด:
                Transition 89 is a new audiovisual work by Lia and @c. Based on the composition "89" by @c, Lia has created a visual transcription of the sound in HD 16:9 format.
              The complete soundtrack "89" was created during an artist in residency programme in the villages of Nodar and Fujaco (part of the Magaio cluster of villages in central Portugal). The audio piece incorporates the aural experience of the ecological, architectural and cultural contexts of the region, the residents of Fujaco participated directly through the usage of their recorded voices.
               In Transition 89 Lia has taken an excerpt of "89" and, using her algorithmic engine and her knowledge of realtime performances, has created a subtle, graceful and delicate audiovisual composition. The constant structural mutations during the film – which triggered the title – are not only a reflexion on the compositional processes but also a comment on the nature of ecology, social and cultural dynamics.

 ผลงานของ ลีอา ชื่อ Transition 89 AT / PT / 2011 5 min. การเปลี่ยนแปลง 89 เป็นผลงานภาษาเสียงและภาพใหม่โดย Lia และ @c มีที่มาจากองค์ประกอบ "89" โดย @c Lia ได้สร้างสรรค์การถอดความภาพของเสียงในรูปแบบ HD 16:9 เพลงประกอบที่สมบูรณ์ของ "89" ถูกสร้างขึ้นระหว่างโครงการศิลปินในพำนัก ณ หมู่บ้าน Nodar และ Fujaco (ส่วนหนึ่งของกลุ่มหมู่บ้าน Magaio ในโปรตุเกสตอนกลาง) ผลงานเสียงถูกรวมเข้าด้วยกันกับประสบการณ์ทางโสตประสาทจากบริบททาง นิเวศวิทยา สถาปัตยกรรมและวัฒนธรรมในภูมิภาค ผู้คนที่อยู่อาศัยใน Fujaco นับได้ว่ามีส่วนร่วมโดยตรงผ่านการใช้การบันทึกเสียงของพวกเขา การเปลี่ยนแปลง 89 เป็นส่วนหนึ่งที่ Lia ตัดตอนมาจาก "89" และการใช้ลำดับขั้นตอนการขับเคลื่อนและความรู้ของเธอด้านการแสดงสด (realtime performances) ซึ่งเกิดเป็นองค์ประกอบของภาษาเสียงและภาพที่ละเอียดอ่อน สง่างามและประณีตบรรจง กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างอย่างคงที่ที่เกิดขึ้นในภาพยนตร์เป็นเหตุ แห่งชื่อเรื่องซึ่งไม่เพียงแต่เป็นการสะท้อนกระบวนการจัดองค์ประกอบแต่ยัง รวมถึงข้อคิดเห็นเกี่ยวกับพลวัตแห่งธรรมชาติของนิเวศวิทยา สังคมและวัฒนธรรม


71. Maria Petschig (Austrian) “PAREIDOLIA” Pal, Color, Sound, 4 min, 2008.


มาเรีย เพทชเช่ซ์: ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด:
                In film the face, rather than the body, is usually where an occurring emotion is revealed. At the same time the face also acts as identification—small, distinctive features suffice to identify the subject. For her new video Maria Petschnig uses these concepts, but only to shuffle and rearrange them. The film’s title PAREIDOLIA refers to a psychological phenomenon, involving a vague and random stimulus that is perceived to be meaningful or significant by the viewer. Similarly, in Petschnig’s video, her body becomes its own remote projection screen for the viewer to observe whatever he or she wants to see. The artist, however, never reveals her own face; instead she exhibits different “faces” on her body, presenting cheeky, doll-like personae with her torso and accessorizing with various props and costumes. She depicts a fragmented, topless female figure; yet she resists the classic sexist logic associated with the objectified female body by allowing this active, pleasure-oriented field—her body—to return the viewer’s gaze.  

 (Dietmar Schwärzler)
3. Maria Petschnig PAREIDOLIA 2008 4 min. ในภาพยนตร์โดยทั่วไป ใบหน้าแสดงอารมณ์ได้ค่อนข้างมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับเรือนร่าง ในขณะเดียวกันใบหน้าเองก็ทำหน้าที่บ่งบอกเอกลักษณ์ (- small ตรงนี้ งงค่ะ ไม่รู้อยู่ประโยคหน้าหรือหลัง) ลักษณะเฉพาะที่พอเพียงในแสดงตัวของเนื้อหา สำหรับผลงานวีดีโอใหม่ของเธอ Maria Petschnig ใช้แนวคิดเหล่านี้ แต่เป็นแค่เพียงการปรับเปลี่ยนและจัดการใหม่ ชื่อภาพยนตร์ PAREIDOLIA เกี่ยวโยงถึงปรากฏการณ์ทางจิตวิทยา สัมพันธ์กับความคลุมเครือและสิ่งกระตุ้นที่ไม่มีแบบแผนซึ่งรับรู้ได้อย่างมี ความหมายหรือความสำคัญโดยผู้ชม ลักษณะคล้ายคลึงกันกับวีดีโอของเธอ ร่างกายของเธอกลายมาเป็นจอภาพระยะไกลสำหรับผู้ชมในการสังเกตสิ่งใด ๆ ที่เขาหรือเธอต้องการมอง อย่างไรก็ตาม ศิลปินจะไม่เปิดเผยใบหน้าของตัวเอง หากแทนที่ด้วยใบหน้าที่แตกต่างบนเรือนร่างของเธอ แสดงออกถึงความทะเล้น (จะใช้ว่าไรดีคะ ปรางไม่เห็นงานจริง ไม่รู้ว่าจะใช้เป็นโทนลบหรือปกติดี...) และลักษณะเหมือนตุ๊กตาด้วยลำตัวของเธอและเครื่องใช้รวมทั้งเสื้อผ้าอาภรณ์ หลากหลาย ศิลปินแสดงภาพชิ้นส่วนเล็ก ๆ ของหญิงสาวเปลือยอก ต้านตรรกะของความคลาสสิคเย้ายวนที่เชื่อมโยงกับเรือนร่างของสตรีที่มองเห็น ด้วยขอบเขตแห่งความปิติและมีชีวิตชีวา – เรือนร่างของเธอ – เพื่อตอบสายตาผู้ชม


72. Oliver Stotz (Austrian) “You come” Pal, Color, Sound, 4 min, 2007.


โอริเว่อร์ สเตาทซ์: ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด:
                The musicvideo  „you come“ uses three short sequences token out of three different movies.
Each sequence shows a couple in a different gender constellation. Their movements are all synched to the (otherwise asynchronous) rhythmic structure of the musictrack. There´s a big tension in the movement of the bodies, which are completely connected to the rhythm of the music. It´s only in the last scene (man and man), that a final slaughter releases them out of the synchronisation.


     ผลงานของ โอริเว่อร์ สเตาทซ์ “you come”  ได้นำ 3 เหตุการณ์สั้น ๆ จากภาพยนตร์ 3 เรื่องด้วยกัน แต่ละตอนแสดงภาพคนคู่ในกลุ่มดาวต่างเพศ การเคลื่อนไหวทั้งหลายของพวกเขาต่างเชื่อมต่อกับ (ไม่เช่นนั้น เชื่อมต่อบนเวลาที่แตกต่าง) โครงสร้างจังหวะของเส้นทางดนตรี เกิดภาวะความตึงเครียดอย่างมากในการเคลื่อนไหวร่างกายซึ่งถูกเชื่อมโยงอย่าง สมบูรณ์ต่อจังหวะซึ่งมีเฉพาะในฉากสุดท้าย (ผู้ชายกับผู้ชาย) ที่ซึ่งในท้ายสุด ความรุนแรง (slaughter ใช้ว่าไรดีคะ) ปลดปล่อยพวกเขาออกจากจังหวะอันสอดคล้อง


73. Julia Weidner (German) “keep on” Pal, Color, Sound, 9.15 min, 2004.


จูเรีย วายด์เน่อร์: ชาวเยอรมัน

Website:
            http://www.award.szpilman.de/best03.wei.html

Concept: แนวคิด:
                Julia Weidner sits in a gesture of a reporter without asking next to sleeping and reading people on park benches in Vienna. She confronts and comments the situation again and again with the chorus of the song 'Keep on the sunny Side'.

             งานของ จูเรีย วายด์เน่อร์ นั้น เธอได้นั่งในท่าที่ดูเหมือนนักรายงานข่าว โดยไปนั่งในม้านั่งของสวนสาธารณะที่ๆไม่ได้นัดหมายไว้กับผู้คน ซึ่งอาจกำลังหลับ หรืออ่านอยู่ โดยเธอจะร้องเพลงท่อนใดท่อนหนึ่งของเพลง "Keep on the sunny side" ให้กับผู้คนเหล่านั้น


74. Sabine Marte (Austrian) "B-Star-unkillable" DVD Pal, Color, Sound, 7 min, 2009.


ซาบีน่า มาร์ตา ชาวออสเตรีย

Concept: แนวคิด:
                Language is the symbolism of a patriarchal culture.” (1) Nonetheless, we haven’t (or haven’t yet) escaped this symbolic order. On the contrary, in tales of an “other” history (her-story) we must remain aware of this fact to see and feel the way we fall back on this order. Sabine Marte uses seemingly simple means that run through the most varied representational systems to deconstruct this symbolic order. She manipulates the narrative, the picture (of a) woman, the medium (video). She decelerates, stops, restarts, stutters, repeats, leaves blanks, and at the pictorial level pays no heed to representational conventions or regimes of the gaze.
          b-star, immortal! is the compelling interjection made by a character throughout the film. The story moves from the fictional level of filmic space into real space, producing a loop of fictionality and literality.

ภาษาเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมโบราณ. "(1) อย่างไรก็ตามเราไม่ได้ (หรือไม่ได้ยัง) หลบหนีออกจากระบบสัญลักษณ์ในทางตรงกันข้ามตามเรื่องราวในประวัติศาสตร์ "อื่น ๆ " (History หรือ Herstory) เราจะต้องยังคงตระหนักถึงความเป็นจริงนี้เพื่อที่จะเห็นและรู้สึกว่าวิถีทางที่เราถอยกลับไปในระบบนี้     Sabine Marte ใช้วิธีที่ดูเหมือนง่ายๆที่ทำงานผ่านระบบการดำเนินการหลากหลาย ในการแยกแยะลำดับสัญลักษณ์  เธอควบคุมการพรรณนา ภาพ (ของ) ผุ้หญิง (วิดีโอ) สื่อ (วิดีโอ) เธอช้าลง หยุด พูดติดอ่าง เริ่มใหม่  เว้นว่าง ในระดับการสื่อสารด้วยภาพไม่ได้ใส่ใจต่อแบบแผนเดิมๆ ในการนำเสนอ  หรือต่อการจ้องมองที่แฝงเร้น  
       b-star, immortal!  เป็นคำอุทานที่น่าสนใจนำเสนอผ่านตัวละครโดยตลอดในภาพยนตร์   แก่นเรื่องได้ย้ายจากระดับสมมุติของพื้นที่จำลองในภาพยนตร์สู่พื้นที่จริง  ซึ่งได้สร้างให้เกิดการวนซ้ำไปซ้ำมาของความไม่มีอยู่จริงและความมีอยู่จริง 


75. Leopord Kessler (Austrian) “Perforation cal .10 mm.” Pal, Color, Sound, 2.22 min, 2007.


 ลีโอพอร์ด เคซ์เล่อร์: ชาวออสเตรีย

website:
            http://www.secession.at/art/2007_kessler_d.html


Concept: แนวคิด:
                Intervention (Vienna), a video with a homemade pincer, a meter thorn is driven through various street signs, the holes show distortions of bullet holes.

                The works of Leopold Kessler deal with public space, exploring the topography of the city - traffic that structure urban life, to behaviors that are determined by this. Squares, paths, street signs or barriers are's interventions aim at and serve as material for his sculptures. In addition, he has repeatedly pointed out the gaps in the systematic organization of social space. Leopold Kessler, perforation caliber 10 mm, film still, 2007 for an exhibition at the Neue Galerie in Graz 2006 Kessler increased the water pressure of Archduke Johann fountain so that water flowed on the main square of Graz for a given period to the ground. These created a video that shows the square with the fountain in the middle like from a tourist perspective. This tourist city views is a covetous and arrogant, who hopes to make its complexity and opaque mobility readable and manageable. While Kessler working in and with the public space, but he does not act in the public order. His unannounced actions or interventions happen almost unnoticed as they disguise themselves or give the appearance of authorized official acts or construction. Leopold Kessler, perforation caliber 10 mm, film still, 2007 For the Secession Leopold Kessler produces high definition video perforation Cal 10 mm , showing a series of interventions at different locations in Vienna: With the greatest naturalness man (Leopold Kessler) is like a street dressed in the morning when it is still very quiet, through the city and riddled road signs with an oversized hole pliers. The he has specially made ​​for his purpose. This seems awkward, since the plates are perforated with some force and an accompanying sound and it is no surprise the operative composure with which Kessler exposes at least the threat of disciplinary penalty, with some effort equal to visits several places but then to leave minimal tracks whose meaning is not immediately readable. Leopold Kessler, perforation cal 10 mm, film still, 2007 Kessler directs our attention to the question of the reversal of visibility and invisibility, because the more widely bright neon-orange vest road makes it invisible to most people. In the exhibition his gesture situation gets even international attention. Leopold Kessler, perforation caliber 10 mm, film still, 2007 Interested Leopold Kessler the hole or the sign? Functioning of the perforated plates even as a traffic sign or are they already on the way to the coveted collector's items? When will results from the irregularly arranged holes a pattern. The hole points connecting the line to the area when Kessler goes through the city? Thomas Bernhard describes walking as occasion and expression of thought processes that reflect the relationship between movement and stillness. Or leave holes but close only to the use of firearms? By Imposed street signs are not unfamiliar sight in peripheral areas of many cities, beyond the choice of bullet holes indirectly points back to the tourist gaze, looking even the threat as an urban attraction. And what could be a tourist as the Secession, one of the most photographed buildings in the city in which this work is shown?PUBLICATION

ผลงานของ เลียวโปลด์ เคสเลอร์จัดการกับ พื้นที่สาธารณะ สำรวจ ภูมิประเทศของเมือง - การจราจรที่ เป็นโครงสร้าง ชีวิตในเมือง   ต่อพฤติกรรมที่ ถูกกำหนดสิ่งเหล่านี้   รูปทรงเหลี่ยมๆ, เส้นทาง , ป้ายถนน หรือ สิ่งกีดขวาง ทำหน้าที่ เป็นวัสดุสำหรับ ประติมากรรมของเขา     นอกจากนี้เขา ได้บ่งชี้ถึงช่องหว่างของระบบการจัดการของพื้นที่ในสังคม ผลงาน  perforation caliber 10 mm  ของ เลียวโปลด์ เคสเลอร์  -ภาพฟิล์มนิ่ง-  2007 นิทรรศการที่ Neue Galerie ใน กราซ 2006 เคสเลอร์  เพิ่มแรงดันน้ำ น้ำพุของ ท่านดยุค โยฮันน์ เพื่อให้น้ำไหลที่จัตุรัสหลักของกราซ ตามระยะเวลาที่กำหนด  สิ่งเหล่านี้สร้างวิดีโอที่แสดงให้เห็นลานที่มีน้ำพุอยู่ตรงกลาง เป็นเหมือนมุมมองของนักท่องเที่ยว    วิวเมืองท่องเที่ยวแห่งนี้มีความน่าพึงปรารถนาและสง่างาม    ซึ่งผู้คนหวังที่จะทำให้มีความซับซ้อนและการเคลื่อนตัวที่แน่นทึบ  เข้าใจได้และจัดการได้    ในขณะที่ เคสเลอร์ ทำงานอยู่กับพื้นที่สาธารณะ แต่เขาไม่ได้ปฏิบัติตนตามกฎสังคม
การกระทำและการแทรกแซงอย่างไม่ได้ประกาศตนของเขาแทบจะไม่มีใครสังเกตเห็น  เนื่องจากการกระทำเหล่านั้นได้อำพรางตัวหรือปรากฎเป็นเพียงรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ   ผลาน  perforation caliber 10 mm, film still, 2007 ของ เลียวโปลด์ เคสเลอร์   ผลิตด้วยความละเอียดสูง  เป็นผลงานที่แสดงให้เห็นชุดของการแทรกแซงในสถานที่ที่แตกต่างกันในเวียนนา    ด้วยความเป็นธรรมชาติ ของมนุษย์ ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ( เลียวโปลด์ เคสเลอร์ ) เหมือนการแต่งการแนวสตรีทในตอนเช้า ในขณะที่บรรยากาศยังคงเงียบสงบ  ผ่านเมืองและป้ายถนนที่ดูเหมือนปริศนา กับหลุมขนาดใหญ่ซึ่งเขาได้ทำมาเป็นพิเศษเพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของเขา


76. Yoshihisa Nakanishi (Japanese) "Loopic Cube" Pal, Color, Sound, 5 min, 2010.


      โยชิฮิซะ นากานิชิ: ชาวญี่ปุ่น

website:
             http://members3.jcom.home.ne.jp/oneminute/profile-1/YN-profile.html

Concept: แนวคิด:
                The cube also itself rotates and then multiplies, so that the patterns' appearance transform based on the how each cube aligns with its neighbors.
Experimental animation made with paper models.
           ลวดลายเรขาคณิตที่วาดบนพื้นผิวของก้อนลูกบาศก์สีขาวหมุนเป็นวงกลม ตัวก้อนลูกบาศก์ก็หมุนตัวเองด้วย ดังนั้นจึงเป้นการทวีคูณ  เพื่อให้ลักษณะรูปแบบแปลงรูป ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าลูกบาศก์แต่ละก้อนสอดคล้องกับหน่วยย่อยอื่นๆ ขนาดไหน  เป็นการทดลองทำภาพเคลื่อนไหวทำจากงานจำลองด้วยวัสดุกระดาษ
 


77. Natnaran Bualoy & Party Wat Gang  (Thai) “Love mean nothing” Pal, Color, Sound, 5 min, 2014.


     ณัฐณรัณ บัวลอย: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:

                In the current "love" is a user created faith. So that its meaning is created. Clustering dissenters and deny other groups think differently. That's the meaning of "love" it was destroyed, leaving no original definition of it anymore.

           ในเหตุการปัจจุบัน "ความรัก" เป็นเครื่องมือที่ใช้สร้างความเชื่อ เพื่อให้ความหมายของมันสร้างกลุ่มก้อนพวกพ้อง และ ปฎิเสธกลุ่มอื่นๆที่คิดต่าง ซึ่งนั่นทำให้ความหมายของ "ความรัก" มันถูกทำลายจนไม่เหลือนิยามของตัวมันอีกต่อไป


78. Nithiphat Hoisangthong (Thai) "How to disappear completely" Pal, Color, Sound, 3.33 min, 2013.


 นิธิพัฒน์ หอยสังข์ทอง: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:
                The works by Nithiphat Hoisangthong explore developments of capitalism and its intersection with race, religion, class and language. The play on uncertainties and undermining morality discloses a culture in decline and a contemporary life style that is most questionable. According to the artist life style, change and life’s variables are formed out of conglomerates of believe systems, cultures and customs that constitute human civilization. Hoisangthong’s work examines these intertwined relationships among peoples and attempts to lead the viewer to self-realization of one’s responsibilities in social, environmental and cultural terms. Hoisangthong’s way to a ‘beautiful’ life in a capitalistic age favors contemplation of the inner self and principal interests in order to reach equilibrium and to unite material and spirit.

           นิธิพัฒน์ หอยสังข์ทอง สร้างสรรค์ผลงานด้วยการ สารวจพัฒนาการของระบบทุนนิยม ที่ส่งผลกระทบต่อ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และการศึกษา ที่สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงต่อระบบศีลธรรม จนเกิดเป็นปัญหาแก่สภาพสังคมในปัจจุบัน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นผลพวงของความศรัทธาต่อระบบทุน ที่เป็นตัวแปรสาคัญในการสร้างความเปลี่ยนแปลงของระบบวัฒนธรรม ประเพณี และอารยธรรมของมนุษย์ นิธิพัฒน์ทางานจากการค้นหาความสัมพันธ์ของประเด็นเหล่านี้ในวิธีคิดของผู้คนในสังคม ด้วยความพยายามที่จะนำเสนอสำนึกของความรับผิดชอบที่มีต่อสังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม นิธิพัฒน์จึงได้แสดงความงามของชีวิตในยุคนิยมทุน เพื่อตั้งคาถามกับผู้ชมถึงจิตวิญญาณอันสมดุลในโลกของวัตถุแห่งนี้


79. Wuntigorn Kongka (Thai) “Cris” Pal, Color, Sound, 14 min, 2014.


      วุฒิกร คงคา: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:
                The dreams of a wonderful world, floating quietly in a private universe"
             ความฝันบนความสัมพันธ์ที่แปลกประหลาด
ลอยเคว้งคว้างอยู่ในจักรวาลส่วนตัวที่สงบเงียบ


80. Piriya Ouypaibulswat (Thai) "Freeze" Pal, Color, Sound, 3 min, 2011.


      พิริยะ อุ้ยไพบูลย์สวัสดิ์: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:

                I used time-lapse technique to record the phenomena of ice melt. For show the current situation to be aware of the risk of human civilization is going to collapse.

ข้าพเจ้านำเอาความสามารถของเทคนิค VDO มาสร้างภาพปรากฏการณ์ ผิดธรรมชาติ ด้วยการเร่งกระบวนการทางเวลาให้ถึงจุดสิ้นสุดในเวลาอันสั้น เพื่อแสดงภาพของเหตุการณ์ หรือสภาวการณ์ปัจจุบันให้เป็นที่ตระหนัก ถึงภัยจากอารยะธรรมที่มนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้น และมิได้คำนึงถึงผลเสียของการเจริญเติบโตเหล่านั้น อันจะเป็นเหตุที่นำมาซึ่งความเสื่อมสลายก่อนเวลาอันควรนั่นเอง


81. Tuksina Pipitkul (Thai)  "Air, Light and Water" DVD Pal, Color, Sound, 3 min, 2009.


Concept: แนวคิด:
       Air, light and water is the cornerstone of life. These are the basic elements of beauty that make up a human.


         แนวความคิด  อากาศ แสงและน้ำคือองค์ประกอบรากฐานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต  ธาตุพื้นฐานเหล่านี้คือความงามอันประกอบกันขึ้นมาเป็นมนุษย์ 


82. Eva Weingärtner (German) “the only thing that’s real” Pal, Color, Sound, 5.44 min,  2010.


  เอวา วายนิการ์ทเน่อร์: ชาวออสเตรีย

website:
            http://www.newfrankfurtinternationals.de/?id=38&L=1


Concept: แนวคิด:
                In the video …the only thing that’s real… a young woman, the artist herself, looks directly into the camera for a view seconds before closing her eyes. Her hand slowly enters the picture and begins to roughly grope her face from the chin upward. The fingers bore into the mouth and nose, pinch the cheeks, and pull open the eyelids. After feeling out her face, the woman then begins to hit herself in the face, gingerly at first and then harder. The impact of the hand is audible a several times; sometimes the hand misses the face altogether.
After she stops hitting herself, the young woman wipes away her tears and looks directly at the viewer. Using no props and only simple gestures, Eva Weingärtner manages to convey a difficult relationship between an individual and herself, which is characterized by feeling ranging from self love to self hate. The artist`s hand groping across her face and the slaps she gives herself seem to be an attempt to ascertain the self a reaffirm one`s own existence through pain …”
Text:Lilian Engelmann, Frankfurter Kunstverein
Foto© Frankfurter Kunstverein/ Norbert Migulez
Am 25.05.2014 um 09:10 schrieb sabine:

          ในวิดีโอ ... สิ่งเดียวที่เป็นจริง ... หญิงสาวคนหนึ่ง คือตัวศิลปินเอง ที่มองตรงไปยังกล้องเป็นเวลาไม่กี่วินาทีก่อนที่ตาของเธอจะปิดลง  มือของเธอเคลื่อนเข้าไปในรูปภาพอย่างช้าๆ      และค่อยๆ คลำใบหน้าของตนเองจากคางขึ้นไป นิ้วเจาะเข้าไปในปากและจมูก   หยิกแก้มและดึงเปิดเปลือกตาเปิดออก หลังจากที่ความรู้สึกแสดงออกผ่านใบหน้าของเธอ ผู้หญิงคนนี้เริ่มตีใบหน้าตนเอง ตอนแรกด้วยนิ้วหลักจากนั้นก็รุนแรงขึ้น   การกระทบของมือส่งเป็นเสียงหลายครั้ง  บางครั้งมือก็ตีไม่โดนใบหน้าเลย 



83. Jate Yooyim (Thai) "Ta-Tum-Mong" Pal, Color, Sound, 3.32 min, 2011.


เจตน์ อยู่ยิ้ม: ชาวไทย

Concept: แนวคิด:
                I have seen a lot of Thainess but somehow I have question whether it is or not a real Thainess.A lot of things around me such as advertisement on TV, Newspaper, and radio, try to convince me about Thainess. In fact, I have seen so many funny things about Thainess such as; worship dome funny or weird objects or animals, trying to find a lottery number from the trees, adaptation from things around. These are unique and you’ll never find in any culture in the world. I would like to present it in a bad funny way which different from Thai perspective.
    This video presentation has come from a real experiences and attitudes by using footages of advertisement, using composition, cutting, sizing, repeating on a specific time.
        
     จากการพบเห็นการสร้างความเป็นไทยหรืออัตลักษณ์ไทยในปัจจุบันทำให้ข้าพเจ้าเกิดการตั้งคำถามขึ้นว่าความเป็นไทยเป็นเช่น หรือความเป็นไทยมีจริงหรือไม่ตามสื่อที่ข้าพเจ้าได้พบเห็นในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นรายการโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่เป็นสิ่งที่รัฐพยายามปลูกฝังเพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจน แต่ในความเป็นจริงแล้ว จากการมองสิ่งรอบตัว ความเป็นไทยมีหลายสิ่งหลายอย่างแตกต่างออกไป บ้างก็ดูน่าขัน บ้างก็ดูไร้สาระ เช่น การขอหวยจากต้นไม้ หรือการบูชาสัตว์ที่มีรูปทรงประหลาด การบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือการหยิบยืมสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวมาประยุกต์ดัดแปลงเป็นรูปทรงใหม่ต่างไปจากเดิม การปะติดปะต่อสิ่งของที่มาจากยี่ห้อที่มีชื่อเสียงของต่างประเทศเพื่อใช้เป็นสิ่งของที่ใช้ในชีวิตประจำวันในลักษณะจับแพะชนแกะ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นเอกลักษณ์ที่ไม่มีใครเหมือนในหลากหลายประเทศ และเป็นสิ่งที่แปลกและไม่คุ้นชินในสายตาของชาวต่างชาติ แม้แต่บางครั้งในสายตาของคนไทยด้วยกันเอง ข้าพเจ้าจึงสนใจที่จะนำเสนอมุมมองอีกมุมมองหนึ่งที่แสดงความเป็นไทยที่ต่างจากความเป็นไทยกระแสหลักในแบบตลกร้าย
 


84. Phillipp Messer (Italian) "Flagflash”, Pal, Color, Sound, 2009.


 ฟิลลิปพ์ แมสเซอร์: ชาวอิตาลี

website:
        http://www.stanford.edu/~messer/cv.html


85. Katharina Huber (German) "TANGRAM" Pal, Color, Sound, 10.26 min, 2012.


  เคอเทอร์รีนน่า ฮูเบอร์: ชาวเยอรมัน

Concept: แนวคิด:
                The Tangram is a puzzle. It consists of seven flat pieces, which are put together to form shapes.
The objective of the puzzle is to form a specific shape using all seven pieces, which have to touch
each other but may not overlap.

            Tangram เป็นปริศนา มันประกอบไปด้วยแผ่นแบนๆ เจ็ดชิ้น ซึ่งจะต้องเอามาประกอบเข้าด้วยกันเพื่อให้เกิดเป็นรูปทรง   วัตถุประสงค์ของเจ้าปริศนานี้คือการสร้างรูปร่างที่เฉพาะเจาะจงโดยใช้ส่วนประกอบทั้งเจ็ดชิ้น  ซึ่งจะนำมาต่อให้ติดกันแต่ต้องไม่ทับเกยกัน





86. Derek Robert (American) "Corners", Pal, Sound, Color, 5.35 min, 2008.


โดเร็กค์ โรเบอร์: ชาวอเมริกัน

website:
              http://www.crossingeurope.at/archive/2010.html?L=1&movie=801

              เป็นคน อเมริกัน เกิดปี ค.ศ. 1978 ในเบอร์มิงแฮม สหรัฐอเมริกา  อาศัยและทำงานในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย


Concept: แนวคิด:
               Corners represents an attempt to interact with perpendicular obstacles throughout the city of Vienna. By filming and editing these sequences as we did, one can easily discern a certain flow, as all of the elements are integrated into a cohesive challenge in maneuvering around, over, under and through these temporary and permanent urban structures. (Derek Roberts & Praved Chandra)

งานที่ชื่อ”มุม ต่าง ๆ(conners)” บรรยายความพยายามในการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งกีดขวางลักษณะตั้งฉากตลอดทั่วเมือง เวียนนา จากการถ่ายทำและตัดต่อฉากเหล่านี้ บางคนมองเห็นทะลุปรุโปร่งถึงการลื่นไหลอันมั่นคง ที่องค์ประกอบทั้งหมดถูกรวมเข้าสู่ความท้าทายในการเคลื่อนที่อย่าง ระมัดระวังโดยรอบ ด้านบน ด้านล่าง และผ่านโครงสร้างเมืองชั่วคราวและถาวรเหล่านี้ (Derek Roberts & Praved Chandra) Derek Roberts , Lebt und arbeitet in Wien. Filme (Auswahl): Corners (2008, KF)


87. David Larcher (English) "Ich Tank”, Pal, Color, Sound, 62 min, 2003.


ดาร์วิด ลาซเชอร์: ชาวอังกฤษ

       David Larcher was born in 1942; a war baby, as he describes himself. He studied anthropology and palaeontology before turning to an artistic training at the Royal College of Art. He was a photographer from the mid-sixties and made his first film in 1969.
     เกิดปี คศ. 1942 เป็นคนที่เกิดในช่วงสงคราม เท่านี่เขาอธิบายถึงตนเอง เขาศึกษาทางด้านมนุษย์วิทยา และวัตถุโบราณของสิ่งมีชีวิต ก่อนที่เขาจะหันหน้ามาสนใจทางด้านศิลปะซึ่งศึกษาต่อ ณ. Royal College of Art ในกรุงลอนดอน เขาคอยทำงานทางด้านภาพถ่ายจากยุดกลางของทศวรรษที่ 60 และภาพยนต์ชิ้นแรกที่ได้ทำในปี 1969


88. Heidrun Holzfeind & Christoph Draeger (Austrian&Swiss) "Tsunami Architecture / The Maldives Chapter Redux" Pal, Color, Sound, 26 min, 2013.


website:
            http://maldivespavilion.com/blog/maldives-pavilion-artists/christoph-draeger-heidrun-holzfeind/

Concept: แนวคิด:
                Christoph Draeger has been working on themes of disaster and destruction for 20 years. His conceptual projects take form in installation, video, and photo-based media to explore issues pertaining to catastrophe and media-saturated culture. Solo exhibitions include OK Centrum, Linz (w/Heidrun Holzfeind); Kunstmuseum Solothurn; Kunsthaus Zurich (w/Reynold Reynolds); Orchard Gallery, Derry; Roebling Hall, New York; CCA Ujazdowski Castle, Warsaw.

Heidrun Holzfeind is interested in how architecture interacts with people’s everyday life. She questions immanent architectural and social utopias of modernist residential buildings, exploring the borders between history and identity, individual histories and political narratives of the present. Her work has been shown at BAWAG Contemporary Vienna; Mumok, Vienna; Camera Austria, Graz; CCS Bard; Lentos Museum Linz; Manifesta 7, Rovereto; SAPS, Mexico City, CCA, Ujazdowski castle, Warsaw.
http://maldivespavilion.com/blog/maldives-pavilion-artists/christoph-draeger-heidrun-holzfeind/


The 2004 Indian Ocean Tsunami was one of the worst natural catastrophes in history. While international attention has faded, post-tsunami challenges continue to have an impact on affected communities. In the winter of 2010/2011, Christoph Draeger and Heidrun Holzfeind took a three-month trip to the five countries most affected – Thailand, Aceh/Indonesia, Sri Lanka, Maldives and India – to investigate the current state of architecture built or reconstructed in the aftermath of the tsunami. "Tsunami Architecture" documents the long-term effects of the disaster through conversations with survivors, eyewitnesses, aid workers and rescue personnel. “The Maldives Chapter Redux” looks specifically at how the flood of aid money has transformed whole islands, rebuilt and refashioned local economies and shaped communities on three islands in the Maldives.
          "We were interested in how the flood of aid money has transformed the affected regions, rebuilt and refashioned local economies and shaped communities. How has architecture built after the tsunami been able to respond to the individual needs of affected communities? How were these communities able to participate in the recovery process? How have these structures been adapted over time by their inhabitants, and how did architectural interventions alter societal and communal structures?" (Draeger/Holzfeind)
            In terms of preparedness we are quite ready: All of the islands have their own disaster management plan in case of a tsunami or sea level rise and to receive a warning we have an early warning system established. But obviously if it is a 19 or 20 meter high wave, I don’t think we stand much of a chance. Climate change is leading to an increase in the frequency of disasters and it’s going to be something we continue to face. We are trying to relocate people away from islands that would not survive the next 10, 15 years. But you can never be completely protected from a disaster, you can just try and minimize the consequences.
            Nadine Waheed, Programme Officer UN Human Settlements Programme for the Republic of Maldives (from 2005-2008).

            สึนามิในมหาสมุทรอินเดียอุบัติขึ้นในวัน  บ็อกซิ่งเดย์วันที่ 26 ธันวาคมปี 2004  มีคลื่นสูงถึงสามสิบเมตร  ไหลบ่าเข้าชุมชนชายฝั่งในจังหวัดอาเจะห์, ประเทศไทย, ศรีลังกา, มัลดีฟส์และทมิฬนาฑูในอินเดีย    ประชาชนเกือบ 250,000 คนเสียชีวิตทันที  ล้านคนไม่มีที่อยู่อาศัย มันเป็นหนึ่งในหายนะทางธรรมชาติที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในประวัติศาสตร์   การไหลเวียนของเงินบริจาคได้เริ่มต้นขึ้น  ส่วนมากเป็นผลมากจากสื่อ (นักท่องเที่ยวจำนวนมากได้รับผลกระทบบนชายหาดของไทย) และปริมลฑลทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับผลกระทบได้     ด้วยเงินบริจาคจาก 13 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในรูปแบบเงินและสิ่งของ  มันได้กลายเป็น กองทุนการกู้คืนภัยพิบัติที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์


89. Orawan Arunrak (Thai) “Mom and TV shows”  Pal, Colour, Sound, 20 min, 2014.


 อรวรรณ อรุณรักษ์: ชาวไทย
website:
           www.orawanarunrak.com
Concept: แนวคิด
                As such a long time I did not hear any news from Thai Royal family, I normally hear my Mom's voice that telling me their stories, it was around 8.00 pm. before Thai's film starts.

        นานมาแล้วที่ไม่ได้นอนฟังข่าวพระราชสำนัก และนอนฟังแม่พูด ในช่วงเวลาสองทุ่มกว่าก่อนละครจะเริ่ม



90. Graw Boeckler (German) "Bacause" Pal, Color, Sound, 4.03 min, 2005.


      โกลว์ โบเอค์เล่อร์: ชาวเยอรมัน

website:
            http://www.grawboeckler.de/

           Ursula Böckler & Georg Graw are the artist duo Graw Böckler. They produce films and photography. In addition they are operating the temporary projection space and DVD label "Raum für Projektion". Ursula Böckler and Georg Graw currently live in Berlin.

        ฮัวซูล่า โบเอค์เล่อร์ และ เกออจ โกลว์ เป็นศิลปินที่มักทำงานด้วยกัน โดยผลงานของเขาทั้งสองนั้นมักจะเป็นภาพยนต์ และภาพถ่าย ในงานโครงการนั้นมักเน้นถึงการใช้พื้นที่ และบนแผ่น DVD มักเขียนไว้ว่า "ห้องสำหรับฉาย" และทั้งสองยังคงทำงานโดยอาศัยอยู่ในกรุงเบอร์ลิน


91. Anon Chaisansook, Rach Chulajata, Nattapat Thamasal, Napat Vattanakuljalas, Bavorn Kajonpanpong (Thais)  “Colour Translation Project” Pal, Colour, Sound, Video Performance, 4.30 min, 2014.


เป็นกลุ่มนักศึกษาจากสาขาศิลปกรรม คณะสถาปัตยกรรมฯ สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประกอบด้วย อานนท์ ไชยแสนสุข, รัชต์ จุลชาต, ณัทภัทร ธรรมศาสน์, ณภัทร วัฒนกุลจรัส, บวร ขจรพันธุ์พงศ์

Concept: แนวคิด:
                Sound and light are interrelated. The frequency of these two things are the medium of the relation. Areas and atmosphere are like the conductor and the composer that compose the melody and conduct the tempo at the same time. The sound that appear have the specific of time and space that is not only a normal sound. But up to the condition of time and space.

        ความเชื่อมโยงกันของ แสงสี กับเสียง และความสัมพันธ์กับพื้นที่ โดยจุดเชื่อมโยงระหว่างสามสิ่งนี้คือค่าความถี่ของเสียงและแสง ที่มีอยู่ในพื้นที่นั้นๆ โดยการหาค่าสีในพื้นที่นั้นออกมาเป็นค่าความถี่แสงแล้วนำค่าความถี่แสงไป เทียบกับค่าความถี่ของเสียง ผลก็คือจะได้ตัวโน๊ตของพื้นที่นั้นๆ


Co-Operators 

Assistant Professor Pitiwat Somthai, Burapha University
Instructor Sakchai Bunin, College of Fine Arts, Bangkok
Instructor Kosit Juntarathip, Chatchawan Nilsakun, ChiangMai University
Instructor Phd Toeiqam Sritabub, Silpakorn University
Associated Professor Tuksina Pipikul, Bangkok University
Instructor Komson Nookiew, (Curator) King Muangkut's Institute of Technology, Ladkrabang
Instructor Onanung Krinsiri, Bunditpatanasilpa Institute
Assistant Professor Pasit Puntien, Suan Sunandha Rajabhat University
Instructor Pasut Kranrattanasuit, Dhonburi Rajabhat University Samutprakan
Sabine Marte, (Curator) Vienna, Austria,
Pascal Fendrich, (Curator) Cologne, Germany 
Gertrude Moser-Wagner, Consulten and Co-Operator, Vienna, Austria   



Places of Exhibition 

(BACC) Bangkok Arts and Culture Centre,
18 July - 17 September 2014  

Moltkerei Werkstatt, Cologne, Germany, 
15 - 29 September 2014

Designed by Pascal Fendrich, Germany ©2014

No comments: